CMU
หลักสูตร
แยกตามคณะ
ค้นหาหลักสูตร
ปริญญาตรี
ปริญญาโท
ปริญญาเอก
หลักสูตรอื่นๆ
|
การศึกษา
การรับสมัครปริญญาตรี
การรับสมัครระดับบัณฑิตศึกษา
การรับสมัครหลักสูตรนานาชาติ
ทุนอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
|
คณะและหน่วยงาน
คณะ
หน่วยงาน
ส่วนงานอื่นๆ
|
TH
EN
CN
TH
EN
CN
หลักสูตร
แยกตามคณะ
ค้นหาหลักสูตร
ปริญญาตรี
ปริญญาโท
ปริญญาเอก
หลักสูตรอื่นๆ
การศึกษา
การรับสมัครปริญญาตรี
การรับสมัครระดับบัณฑิตศึกษา
การรับสมัครหลักสูตรนานาชาติ
ทุนอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คณะและหน่วยงาน
คณะ
หน่วยงาน
ส่วนงานอื่นๆ
ข่าวสาร
ข่าวงานวิจัยและนวัตกรรม
ข่าวเด่น
ข่าวบุคคลเด่น
รางวัลและความภาคภูมิใจ
ประชุมสัมมนา/กิจกรรมของมหาวิทยาลัย
ภาพข่าวผู้บริหาร
ข่าวรับสมัครงาน
ข่าวจัดซื้อจัดจ้าง
ปฏิทินกิจกรรม
COVID-19 และ PM2.5
เกี่ยวกับ มช.
ประวัติความเป็นมา
60 ปี มช.
ปณิธาน/วิสัยทัศน์/พันธกิจ/ค่านิยมและวัฒนธรรมองค์กร
อำนาจหน้าที่
สัญลักษณ์มหาวิทยาลัย
เกี่ยวกับมช.
ข้อมูลสาธารณะ
CMU 360 องศา
SDGs
โครงสร้างองค์กรและการบริหารมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนพัฒนาการศึกษามช. ระยะ 5 ปี
คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย
คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัย
ผู้บริหารส่วนงาน
ผู้บริหารหน่วยงาน
สภาพนักงาน
Download CMU Powerpoint Template
ช่องทางการสอบถามข้อมูล (Q&A)
นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
ติดต่อเรา
เสนอแนะ/ร้องเรียน
ข่าว
ความแตกต่างของ “ โรคฝีดาษลิง ” กับ “ โรคสุกใส ”
24 สิงหาคม 2565
คณะแพทยศาสตร์
โรคฝีดาษลิง
เชื้อก่อโรค : Pox virus
การติดต่อ
: - การสัมผัสสารคัดหลั่ง รอยโรค และละอองฝอยจากทางเดินหายใจ
- ติดต่อจากสัตว์สู่มนุษย์
- ติดต่อจากมนุษย์สู่มนุษย์
ระยะฝักตัว : 7 - 21 วัน
อาการนำ
: ไข้ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ปวดศีรษะ
อ่อนเพลีย ปวดหลัง ต่อมน้ําเหลืองโต
อาการแสดงทางผิวหนัง
: - แผลในปาก ตามด้วยผื่นแดง ตุ่มแดงตุ่มน้ํา โดยตุ่มน้ําอาจมีรอยบุ๋มเล็ก ๆตรงกลาง และกลายเป็นตุ่มหนอง แล้วจึงตกสะเก็ด
- รอยโรคจะอยู่ในระยะเดียวกัน
การรักษา
: แบบประคับประคองและรักษาตามอาการ
ยาต้านไวรัส tecovirimat (อยู่ระหว่างการศึกษา)
----------------------------
โรคสุกใส
เชื้อก่อโรค : Varicella zoster virus
การติดต่อ
: - การสัมผัสสารคัดหลั่ง รอยโรค และละอองฝอย จากทางเดินหายใจ
- ติดต่อจากมนุษย์สู่มนุษย์
ระยะฝักตัว : 11 - 20 วัน
อาการนำ
: ไข้ ปวดเมื่อยเนื้อตัว ปวดกล้ามเนื้อ
อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ
อาการแสดงทางผิวหนัง
: - แผลในปาก และคอหอยตามด้วยผื่นแดงตุ่มแดง ตุ่มน้ํา โดยตุ่มน้ําอาจมีรอยบุ๋มเล็ก ๆตรงกลาง และต่อมากลายเป็นตุ่มหนองแล้วจึงตกสะเก็ด
- พบรอยโรคได้หลายระยะในเวลาเดียวกันมีโอกาสทิ้งรอยแผลเป็นหลังหาย
การรักษา
: รักษาตามอาการร่วมกับ
ยาต้านไวรัส เช่น acyclovir,
famciclovir และ valacyclovir
#โรคฝีดาษลิง
#MedCMU #MedCMUในมือคุณ
#คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
#สื่อสารองค์กรMedCMU
สุขภาพ
บทความ
ข่าวเด่น
แกลลอรี่
×
RoomID:
Room Name:
Description: