สตูดิโอออกแบบภูมิทัศน์และจัดการสิ่งแวดล้อม คณะเกษตรศาสตร์ มช. พัฒนาแนวทางการออกแบบพื้นที่รับน้ำฝนในประเทศสหรัฐอเมริกา เพื่อชุมชนเมืองแห่งโลกอนาคตที่มีการจัดการคุณภาพและปริมาณน้ำอย่างยั่งยืน

25 มีนาคม 2567

ศูนย์สื่อสารองค์กรและนักศึกษาเก่าสัมพันธ์

การใช้พื้นที่ซับน้ำฝนทางชีวภาพ (bioretention) เป็นกลยุทธ์ในการออกแบบภูมิทัศน์และจัดการสิ่งแวดล้อมที่สำคัญ อย่างไรก็ตามความเข้าใจในเรื่องของการรับรู้และการใช้ประโยชน์ของพื้นที่ซับน้ำฝนทางชีวภาพ ของผู้ออกแบบภูมิทัศน์ นักวางผัง และวิศวกร ยังมีอยู่น้อย โดยเฉพาะในด้านการใช้พืชพรรณที่เกี่ยวข้อง

ในด้านการออกแบบภูมิทัศน์ในเมืองเพื่อความชอบของคน นักออกแบบมีหลักฐานยืนยันว่า หากปัจจัยต่างๆ มีความคล้ายคลึงกันแล้ว ยิ่งเขียว คนยิ่งชอบ แต่เหตุผลว่าทำไมคนถึงได้ชอบพื้นทีในเมืองที่มีพืชพรรณเยอะนั้น ยังไม่ชัดเจน ทำให้นักออกแบบยังนำผลงานวิจัยเหล่านี้ไปใช้ประโยชน์ได้ไม่เต็มที่

  • ผลงานวิจัยได้รับตีพิมพ์ในวารสารเกษตร
  • ติดตามอ่านเพิ่มเติมได้ที่  https://cmu.to/IwIAz
#คณะเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
#ภาควิชาพืชศาสตร์และปฐพีศาสตร์
#CMU #ChiangMaiUniversity #มช #มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
#มหาวิทยาลัยเชียงใหม่มหาวิทยาลัยชั้นนำที่รับผิดชอบต่อสังคมและการพัฒนาที่ยั่งยืน #CMUSDGs #SDGs3 #SDGs11 #SDGs15
ข้อมูลโดย : https://www.facebook.com/photo?fbid=826213002856829&set=a.458862466258553
แกลลอรี่