CMU
หลักสูตร
แยกตามคณะ
ค้นหาหลักสูตร
ปริญญาตรี
ปริญญาโท
ปริญญาเอก
หลักสูตรอื่นๆ
|
การศึกษา
การรับสมัครปริญญาตรี
การรับสมัครระดับบัณฑิตศึกษา
การรับสมัครหลักสูตรนานาชาติ
ทุนอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
|
คณะและหน่วยงาน
คณะ
หน่วยงาน
ส่วนงานอื่นๆ
|
TH
EN
CN
TH
EN
CN
หลักสูตร
แยกตามคณะ
ค้นหาหลักสูตร
ปริญญาตรี
ปริญญาโท
ปริญญาเอก
หลักสูตรอื่นๆ
การศึกษา
การรับสมัครปริญญาตรี
การรับสมัครระดับบัณฑิตศึกษา
การรับสมัครหลักสูตรนานาชาติ
ทุนอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คณะและหน่วยงาน
คณะ
หน่วยงาน
ส่วนงานอื่นๆ
ข่าวสาร
ข่าวงานวิจัยและนวัตกรรม
ข่าวเด่น
ข่าวบุคคลเด่น
รางวัลและความภาคภูมิใจ
ประชุมสัมมนา/กิจกรรมของมหาวิทยาลัย
ภาพข่าวผู้บริหาร
ข่าวรับสมัครงาน
ข่าวจัดซื้อจัดจ้าง
ปฏิทินกิจกรรม
COVID-19 และ PM2.5
เกี่ยวกับ มช.
ประวัติความเป็นมา
60 ปี มช.
ปณิธาน/วิสัยทัศน์/พันธกิจ/ค่านิยมและวัฒนธรรมองค์กร
อำนาจหน้าที่
สัญลักษณ์มหาวิทยาลัย
เกี่ยวกับมช.
ข้อมูลสาธารณะ
CMU 360 องศา
SDGs
โครงสร้างองค์กรและการบริหารมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนพัฒนาการศึกษามช. ระยะ 5 ปี
คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย
คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัย
ผู้บริหารส่วนงาน
ผู้บริหารหน่วยงาน
สภาพนักงาน
Download CMU Powerpoint Template
ช่องทางการสอบถามข้อมูล (Q&A)
นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
ติดต่อเรา
เสนอแนะ/ร้องเรียน
ข่าว
ภาวะลิ่มเลือดอุดตันและเกล็ดเลือดต่ำหลังฉีดวัคซีนโควิด-19 (VITT)
20 กรกฎาคม 2564
คณะแพทยศาสตร์
ภาวะ VITT คืออะไร?
เป็นภาวะการเกิดหลอดเลือดอุดตันกับเกล็ดเลือดต่ำ ที่พบได้หลังจากการฉีดวัคซีนโควิด-19
VITT สามารถเกิดจากการฉีดวัคซีนชนิดไหนได้บ้าง?
มีการรายงานพบภาวะ VITT ได้หลังการฉีดวัคซีนอยู่ 2 ชนิดคือ AstraZeneca และ Johnson & Johnson
กลไกของการเกิดภาวะ VITT
เกี่ยวกับองค์ประกอบของวัคซีนบางส่วนที่ทำให้ร่างกายของผู้ที่ได้รับวัคซีน สร้างภูมิคุ้มกันขึ้นมาไปกระตุ้นเกล็ดเลือด ทำให้เกิดลิ่มเลือดอุดตันและเกล็ดเลือดต่ำ
ภาวะ VITT เจอได้มากน้อยเพียงใด?
ประชากรทั่วไปจะพบได้ประมาณ 1 ต่อแสนประชากร
ส่วนผู้สูงอายุจะพบได้น้อยมาก
แต่ถ้าอายุ <55 ปีพบได้ 1 ต่อ 50,000 ของประชากร
และส่วนใหญ่พบในผู้หญิง
อาการของผู้ที่เกิดภาวะ VITT พบอาการอะไรได้บ้าง?
อาการมักจะเกิดขึ้นประมาณสัปดาห์ที่ 1-4 หลังจากฉีดวัคซีนเข็มแรกอาการขึ้นอยู่กับว่าลิ่มเลือดอุดตันที่อวัยวะใด ลิ่มเลือดอุดตันในสมอง จะมีอาการ มึน/ปวดศีรษะ รุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ คลื่นไส้อาเจียน ตามัว แขนขาอ่อนแรง และชักได้ รองลงมาถ้าลิ่มเลือดอุดตันในช่องท้อง มีอาการปวดท้องรุนแรง คลื่นไส้ อาเจียน และอาจมีถ่ายเป็นเลือดได้
เราสามารถวินิจฉัยภาวะ VITT ได้อย่างไรบ้าง?
1. มีภาวะลิ่มเลือดอุดตัน ถ้ามีอาการสงสัย ก็อาจจะต้องส่งเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT Scan) ตามอวัยวะนั้นๆที่มีอาการ
2.ปริมาณเกล็ดเลือดต่ำลง
3. การตรวจหาภูมิคุ้มกันที่ร่างกายของผู้ป่วยจะสร้างขึ้นมาเพื่อต่อต้านเกล็ดเลือดของตัวเอง
การรักษาภาวะ VITT มีแนวทางอย่างไร?
การรักษาจะคล้ายกับกลุ่มผู้ป่วยที่มีอาการลิ่มเลือดอุดตัน ได้แก่ การให้ยาต้านการแข็งตัวของเลือด การรักษาที่อาจจะต้องเพิ่มเติมมาก็คือการให้ยา Intravenous Immunoglobulin (IVIG) เพื่อไปยับยั้งภูมิคุ้มกันที่มากเกินปกติ
ข้อมูลโดย
อ.พญ.ลลิตา นรเศรษฐ์ธาดา
หัวหน้าหน่วยโลหิตวิทยา ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ผศ.ดร.นพ. ชาตรี ชัยอดิศักดิ์โสภา
อาจารย์หน่วยโลหิตวิทยา ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ติดตามผ่านช่องทาง
Website : https://bit.ly/2UsO3ZZ:
Facebook : https://bit.ly/3wRtdR2
Telegram : https://bit.ly/36NNCvW
Blockdit : https://bit.ly/3hOZrbm
Instagram : https://bit.ly/3irm3xP
Twitter : https://bit.ly/3Bncuc3
Line @MedCMU : https://bit.ly/3iv4LzM
#MedCMU #MedCMUในมือคุณ
#คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
#สื่อสารองค์กรMedCMU
#VITT #ภาวะลิ่มเลือดอุดตันและเกล็ดเลือดต่ำ #COVID19
#ใส่Mask #เว้นระยะห่าง #ล้างมือ
สื่อความรู้ (COVID-19)
สุขภาพ
บทความ
ข่าวเด่น
แกลลอรี่
×
RoomID:
Room Name:
Description: