CMU
Curricular
Seperating Faculties
Search for Curriculums
Bachelor’s Degree
Master’s Degree
Doctoral Degree
Other Curriculums
|
Studying at CMU
Application of Bachelor's Degree
Application for Graduate Studies
Application of International Program
CMU Presidential Scholarship
|
Faculties and Departments
Faculties
CMU’s Organizations
Other Division
|
TH
EN
CN
TH
EN
CN
Curricular
Seperating Faculties
Search for Curriculums
Bachelor’s Degree
Master’s Degree
Doctoral Degree
Other Curriculums
Studying at CMU
Application of Bachelor's Degree
Application for Graduate Studies
Application of International Program
CMU Presidential Scholarship
Faculties and Departments
Faculties
CMU’s Organizations
Other Division
News
Research and Innovation News
Outstanding News
Outstanding Staff
Prize and Pride
Conference and Seminar
Executives' News
Job Application
Procurement
Event Calendar
COVID-19 and PM2.5
About CMU
Background
The 60th Anniversary of Chiang Mai University
Resolution/ Vision/ Mission/Values and Organizational Culture
Authority
The University’s Logo
About CMU
Open Data Integrity and Transparency Assessment : OIT
CMU 360
Sustainable Development Goals
Organizational Structure and Administration of Chiang Mai University
Education Development Plan 5 years
Committee of University Council
Executives
Deans
Directors
Employee Council
Download CMU Powerpoint Template
Q&A
Privacy Policy
Contact
Suggestion
ข่าว
ศูนย์ศึกษาชาติพันธุ์และการพัฒนาฯ ลงพื้นที่ชุมชนลัวะบ้านเฮาะ อำเภอแม่แจ่ม เพื่อติดตามและวางแผนการเก็บข้อมูลร่วมกับนักวิจัยท้องถิ่นชาติพันธุ์ลัวะ
1 สิงหาคม 2565
คณะสังคมศาสตร์
หลังจากกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการเก็บข้อมูลชุมชนชาติพันธุ์กับเศรษฐกิจสีเขียว เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2565 ที่ผ่านมา
ในวันที่ 28 กรกฏาคม 2565 อาจารย์และนักวิจัยจากศูนย์ศึกษาชาติพันธุ์และการพัฒนาฯ ได้เดินทางไปยังชุมชนลัวะบ้านเฮาะ อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อติดตามและวางแผนการเก็บข้อมูลร่วมกับนักวิจัยท้องถิ่นชาติพันธุ์ลัวะ
โจทย์หลักของชุมชนลัวะบ้านเฮาะ คือ “การกลับมาทบทวนตัวเอง” เนื่องจากปัจจุบันชุมชนได้ปลูกพืชเศรษฐกิจและใช้สารเคมีอย่างเข้มข้ม นำมาซึ่งปัญหาสิ่งแวดล้อม ภาระหนี้สิน และปัญหาด้านสุขภาพ ชาวบ้านมีความห่วงกังวลและต้องการกลับมาปลูกพืชที่ลดการใช้สารเคมี เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและที่สำคัญสามารถสร้างรายได้ให้ชุมชนตาม “แนวคิดเศรษฐกิจสีเขียว”
การได้กลับมาทบทวนตัวเอง จะเป็นเครื่องมือที่ทำให้นักวิจัยท้องถิ่นและชาวบ้านได้ระดมความคิดร่วมกันว่า พืชเศรษฐกิจแต่ละชนิดเข้ามาในช่วงไหน เข้ามาสร้างการเปลี่ยนแปลงให้กับชุมชนในด้านใดบ้าง และในอนาคตหากต้องการปรับเปลี่ยนการปลูกพืช คนในชุมชนจะคิดหาวิธีการและหาทางออกร่วมกันได้อย่างไร
#กิจกรรมนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการิจัยภูมิปัญญาท้องถิ่นชาติพันธุ์กับการจัดการไฟ (ป่า): ความมั่นคงทางอาหารและสุขภาวะสังคม ปีที่ 2 (ชุมชนชาติพันธุ์กับการเสริมสร้างความมั่นคงทางอาหารและสุขภาวะสังคมในวิกฤติฝุ่นควัน PM2.5)
#สนับสนุนโดย หน่วยสนับสนุนวิชาการรับใช้สังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
ประชุมสัมมนา/กิจกรรมของมหาวิทยาลัย
ข่าวสาร PM2.5
แกลลอรี่
×
RoomID:
Room Name:
Description: