CMU
Curricular
Seperating Faculties
Search for Curriculums
Bachelor’s Degree
Master’s Degree
Doctoral Degree
Other Curriculums
|
Studying at CMU
Application of Bachelor's Degree
Application for Graduate Studies
Application of International Program
CMU Presidential Scholarship
|
Faculties and Departments
Faculties
CMU’s Organizations
Other Division
|
TH
EN
CN
TH
EN
CN
Curricular
Seperating Faculties
Search for Curriculums
Bachelor’s Degree
Master’s Degree
Doctoral Degree
Other Curriculums
Studying at CMU
Application of Bachelor's Degree
Application for Graduate Studies
Application of International Program
CMU Presidential Scholarship
Faculties and Departments
Faculties
CMU’s Organizations
Other Division
News
Research and Innovation News
Outstanding News
Outstanding Staff
Prize and Pride
Conference and Seminar
Executives' News
Job Application
Procurement
Event Calendar
COVID-19 and PM2.5
About CMU
Background
The 60th Anniversary of Chiang Mai University
Resolution/ Vision/ Mission/Values and Organizational Culture
Authority
The University’s Logo
About CMU
Open Data Integrity and Transparency Assessment : OIT
CMU 360
Sustainable Development Goals
Organizational Structure and Administration of Chiang Mai University
Education Development Plan 5 years
Committee of University Council
Executives
Deans
Directors
Employee Council
Download CMU Powerpoint Template
Q&A
Privacy Policy
Contact
Suggestion
ข่าว
นักวิจัย มช. พัฒนาวิธีการปรับปรุงสมบัติของฟิล์มโลหะออกไซด์จากการสังเคราะห์ด้วยกระบวนการสปาร์ก สามารถต่อยอดสู่การสร้างเซนเซอร์อื่นๆ ในอนาคต
1 พฤศจิกายน 2565
คณะวิทยาศาสตร์
ทีมนักวิจัย ภาควิชาฟิสิกส์และวัสดุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ นำโดย รศ.ดร.พิศิษฐ์ สิงห์ใจ ผศ.ดร.อรวรรณ วิรัลห์เวชยันต์ ผศ.ดร. วีระเดช ทองสุวรรณ และ ดร.โพธิ์ศักดิ์ ทิพย์โพธิ์ นักวิจัยหลังปริญญาเอก ได้ร่วมกันศึกษาวิธีการปรับปรุงสมบัติต่างๆ ของฟิล์มโลหะออกไซด์จากการสังเคราะห์ด้วยกระบวนการสปาร์ก โดยวิธีต่างๆ ได้แก่ การใช้สนามไฟฟ้า สนามแม่เหล็กและแสงยูวี เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานยิ่งขึ้น
ผลลัพธ์จากงานวิจัย พบว่า
ฟิล์ม Fe
2
O
3
ที่การสังเคราะห์โดยกระบวนการสปาร์กภายใต้สนามแม่เหล็กมีสมบัติต่างๆ ที่ดีขึ้น
เมื่อนำไปใช้งานเป็นเซนเซอร์ตรวจวัดความชื้น พบว่า มีการตอบสนองต่อความชื่นได้ดี และความไวในการตรวจจับเท่ากับ 0.33 วินาที
ผลสัมฤทธิ์ในงานวิจัยดังกล่าวเป็นการสร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับการประยุกต์ใช้งานของฟิล์มโลหะออกไซด์ที่สังเคราะห์ได้จากกระบวนการสปาร์กในด้านเซนเซอร์ ซึ่งสามารถนำองค์ความรู้ไปต่อยอดทางอุตสาหกรรมหรืองานวิจัยในการสร้างเซนเซอร์อื่นๆ ต่อไปในอนาคตได้
ผลงานได้รับการตีพิมพ์ในวารสาร RSC Advances (Q1 ISI/Scopus, Impact Factor 4.036) Published: Jan 2022
สามารถอ่านงานวิจัยได้ที่
https://doi.org/10.1039/D1RA07490C
งานวิจัยและนวัตกรรม
ข่าวเด่น
แกลลอรี่
×
RoomID:
Room Name:
Description: