CMU
Curricular
Seperating Faculties
Search for Curriculums
Bachelor’s Degree
Master’s Degree
Doctoral Degree
Other Curriculums
|
Studying at CMU
Application of Bachelor's Degree
Application for Graduate Studies
Application of International Program
CMU Presidential Scholarship
|
Faculties and Departments
Faculties
CMU’s Organizations
Other Division
|
TH
EN
CN
TH
EN
CN
Curricular
Seperating Faculties
Search for Curriculums
Bachelor’s Degree
Master’s Degree
Doctoral Degree
Other Curriculums
Studying at CMU
Application of Bachelor's Degree
Application for Graduate Studies
Application of International Program
CMU Presidential Scholarship
Faculties and Departments
Faculties
CMU’s Organizations
Other Division
News
Research and Innovation News
Outstanding News
Outstanding Staff
Prize and Pride
Conference and Seminar
Executives' News
Job Application
Procurement
Event Calendar
COVID-19 and PM2.5
About CMU
Background
The 60th Anniversary of Chiang Mai University
Resolution/ Vision/ Mission/Values and Organizational Culture
Authority
The University’s Logo
About CMU
Open Data Integrity and Transparency Assessment : OIT
CMU 360
Sustainable Development Goals
Organizational Structure and Administration of Chiang Mai University
Education Development Plan 5 years
Committee of University Council
Executives
Deans
Directors
Employee Council
Download CMU Powerpoint Template
Q&A
Privacy Policy
Contact
Suggestion
ข่าว
โรคกระดูกพรุน ภัยเงียบที่มองไม่เห็น
13 พฤษภาคม 2564
คณะแพทยศาสตร์
ปัจจุบันโรคกระดูกพรุนพบมาก เนื่องจากจำนวนประชากรผู้สูงอายุที่เพิ่มมากขึ้น นับเป็น “ภัยเงียบ” อย่างแท้จริง เนื่องจากผู้ป่วยจะไม่รู้ว่าตัวเองมีภาวะกระดูกพรุน เพราะไม่พบว่ามีอาการใด ๆ จนกระทั่งล้มแล้วมี “กระดูกหัก” จึงรู้ว่าเป็น “โรคกระดูกพรุน”
โรคกระดูกพรุน คือภาวะที่มวลกระดูกหรือเนื้อกระดูกลดลง ทำให้กระดูกค่อยๆเสื่อมลง เมื่อเวลาผ่านไปทำให้เนื้อกระดูกบาง เปราะ และหักได้ง่ายขึ้น จากการบาดเจ็บเพียงเล็กน้อยและการใช้ชีวิตประจำวัน บางรายแค่นอนพลิกตัวบนเตียงก็ทำให้กระดูกหักได้ พบได้ทั้งเพศชายและเพศหญิง โดย 1ใน 5 ของผู้หญิงไทย ที่มีอายุระหว่าง 40-80 ปี มักพบเป็นโรคกระดูกพรุน
กลุ่มเสี่ยงโรคกระดูกพรุน ได้แก่ ผู้ที่มีหลังค่อม ,ส่วนสูงลดลง ,เคยกระดูกหักง่าย ,เข้าสู่วัยทอง ,วัยหมดประจำเดือน ,ตัดมดลูกรังไข่ , ไม่กินผัก กินเนื้อสัตว์มากเกินไป ,ทานอาหารเค็มและหวานจัด ,ทานยาบางชนิดเป็นประจำ ,ไม่โดนแสงแดด ,ไม่ออกกำลังกาย ,ผอมเกินไป และสูบบุหรี่ ดื่มเหล้า
ป้องกันโรคกระดูกพรุนเมื่อเป็นกลุ่มเสี่ยงอย่างไร
1. รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ งดบริโภคของแสลง
2. ออกกำลังกายให้เหมาะสมกับวัย
3. ตรวจมวลกระดูกตามข้อบ่งชี้ ได้แก่
• ผู้ที่ไม่เป็นโรคกระดูกพรุน ควรป้องกันตนเองไม่ให้เป็นโรคกระดูกพรุนหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงต่างๆข้างต้น
• ผู้ที่เป็นโรคกระดูกพรุน ควรได้รับการรักษาที่ถูกต้องจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคกระดูก เพื่อลดความเสี่ยงการเกิดกระดูกหัก
ข้อมูลโดย ผศ.นพ.ศิริพงค์ เชี่ยวชาญธนกิจ
อาจารย์ประจำภาควิชาออร์โทปิดิกส์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
#MedCMU #MedCMUในมือคุณ
#คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
#สื่อสารองค์กรMedCMU
#สุขภาพดีกับหมอสวนดอก #โรคกระดูกพรุน
สื่อความรู้ (COVID-19)
ข่าวเด่น
แกลลอรี่
×
RoomID:
Room Name:
Description: