CMU
Curricular
Seperating Faculties
Search for Curriculums
Bachelor’s Degree
Master’s Degree
Doctoral Degree
Other Curriculums
|
Studying at CMU
Application of Bachelor's Degree
Application for Graduate Studies
Application of International Program
CMU Presidential Scholarship
|
Faculties and Departments
Faculties
CMU’s Organizations
Other Division
|
TH
EN
CN
TH
EN
CN
Curricular
Seperating Faculties
Search for Curriculums
Bachelor’s Degree
Master’s Degree
Doctoral Degree
Other Curriculums
Studying at CMU
Application of Bachelor's Degree
Application for Graduate Studies
Application of International Program
CMU Presidential Scholarship
Faculties and Departments
Faculties
CMU’s Organizations
Other Division
News
Research and Innovation News
Outstanding News
Outstanding Staff
Prize and Pride
Conference and Seminar
Executives' News
Job Application
Procurement
Event Calendar
COVID-19 and PM2.5
About CMU
Background
The 60th Anniversary of Chiang Mai University
Resolution/ Vision/ Mission/Values and Organizational Culture
Authority
The University’s Logo
About CMU
Open Data Integrity and Transparency Assessment : OIT
CMU 360
Sustainable Development Goals
Organizational Structure and Administration of Chiang Mai University
Education Development Plan 5 years
Committee of University Council
Executives
Deans
Directors
Employee Council
Download CMU Powerpoint Template
Q&A
Privacy Policy
Contact
Suggestion
ข่าว
ภาวะลิ่มเลือดอุดตันและเกล็ดเลือดต่ำหลังฉีดวัคซีนโควิด-19 (VITT)
20 กรกฎาคม 2564
คณะแพทยศาสตร์
ภาวะ VITT คืออะไร?
เป็นภาวะการเกิดหลอดเลือดอุดตันกับเกล็ดเลือดต่ำ ที่พบได้หลังจากการฉีดวัคซีนโควิด-19
VITT สามารถเกิดจากการฉีดวัคซีนชนิดไหนได้บ้าง?
มีการรายงานพบภาวะ VITT ได้หลังการฉีดวัคซีนอยู่ 2 ชนิดคือ AstraZeneca และ Johnson & Johnson
กลไกของการเกิดภาวะ VITT
เกี่ยวกับองค์ประกอบของวัคซีนบางส่วนที่ทำให้ร่างกายของผู้ที่ได้รับวัคซีน สร้างภูมิคุ้มกันขึ้นมาไปกระตุ้นเกล็ดเลือด ทำให้เกิดลิ่มเลือดอุดตันและเกล็ดเลือดต่ำ
ภาวะ VITT เจอได้มากน้อยเพียงใด?
ประชากรทั่วไปจะพบได้ประมาณ 1 ต่อแสนประชากร
ส่วนผู้สูงอายุจะพบได้น้อยมาก
แต่ถ้าอายุ <55 ปีพบได้ 1 ต่อ 50,000 ของประชากร
และส่วนใหญ่พบในผู้หญิง
อาการของผู้ที่เกิดภาวะ VITT พบอาการอะไรได้บ้าง?
อาการมักจะเกิดขึ้นประมาณสัปดาห์ที่ 1-4 หลังจากฉีดวัคซีนเข็มแรกอาการขึ้นอยู่กับว่าลิ่มเลือดอุดตันที่อวัยวะใด ลิ่มเลือดอุดตันในสมอง จะมีอาการ มึน/ปวดศีรษะ รุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ คลื่นไส้อาเจียน ตามัว แขนขาอ่อนแรง และชักได้ รองลงมาถ้าลิ่มเลือดอุดตันในช่องท้อง มีอาการปวดท้องรุนแรง คลื่นไส้ อาเจียน และอาจมีถ่ายเป็นเลือดได้
เราสามารถวินิจฉัยภาวะ VITT ได้อย่างไรบ้าง?
1. มีภาวะลิ่มเลือดอุดตัน ถ้ามีอาการสงสัย ก็อาจจะต้องส่งเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT Scan) ตามอวัยวะนั้นๆที่มีอาการ
2.ปริมาณเกล็ดเลือดต่ำลง
3. การตรวจหาภูมิคุ้มกันที่ร่างกายของผู้ป่วยจะสร้างขึ้นมาเพื่อต่อต้านเกล็ดเลือดของตัวเอง
การรักษาภาวะ VITT มีแนวทางอย่างไร?
การรักษาจะคล้ายกับกลุ่มผู้ป่วยที่มีอาการลิ่มเลือดอุดตัน ได้แก่ การให้ยาต้านการแข็งตัวของเลือด การรักษาที่อาจจะต้องเพิ่มเติมมาก็คือการให้ยา Intravenous Immunoglobulin (IVIG) เพื่อไปยับยั้งภูมิคุ้มกันที่มากเกินปกติ
ข้อมูลโดย
อ.พญ.ลลิตา นรเศรษฐ์ธาดา
หัวหน้าหน่วยโลหิตวิทยา ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ผศ.ดร.นพ. ชาตรี ชัยอดิศักดิ์โสภา
อาจารย์หน่วยโลหิตวิทยา ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ติดตามผ่านช่องทาง
Website : https://bit.ly/2UsO3ZZ:
Facebook : https://bit.ly/3wRtdR2
Telegram : https://bit.ly/36NNCvW
Blockdit : https://bit.ly/3hOZrbm
Instagram : https://bit.ly/3irm3xP
Twitter : https://bit.ly/3Bncuc3
Line @MedCMU : https://bit.ly/3iv4LzM
#MedCMU #MedCMUในมือคุณ
#คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
#สื่อสารองค์กรMedCMU
#VITT #ภาวะลิ่มเลือดอุดตันและเกล็ดเลือดต่ำ #COVID19
#ใส่Mask #เว้นระยะห่าง #ล้างมือ
สื่อความรู้ (COVID-19)
สุขภาพ
บทความ
ข่าวเด่น
แกลลอรี่
×
RoomID:
Room Name:
Description: