CMU
Curricular
Seperating Faculties
Search for Curriculums
Bachelor’s Degree
Master’s Degree
Doctoral Degree
Other Curriculums
|
Studying at CMU
Application of Bachelor's Degree
Application for Graduate Studies
Application of International Program
CMU Presidential Scholarship
|
Faculties and Departments
Faculties
CMU’s Organizations
Other Division
|
TH
EN
CN
TH
EN
CN
Curricular
Seperating Faculties
Search for Curriculums
Bachelor’s Degree
Master’s Degree
Doctoral Degree
Other Curriculums
Studying at CMU
Application of Bachelor's Degree
Application for Graduate Studies
Application of International Program
CMU Presidential Scholarship
Faculties and Departments
Faculties
CMU’s Organizations
Other Division
News
Research and Innovation News
Outstanding News
Outstanding Staff
Prize and Pride
Conference and Seminar
Executives' News
Job Application
Procurement
Event Calendar
COVID-19 and PM2.5
About CMU
Background
The 60th Anniversary of Chiang Mai University
Resolution/ Vision/ Mission/Values and Organizational Culture
Authority
The University’s Logo
About CMU
Open Data Integrity and Transparency Assessment : OIT
CMU 360
Sustainable Development Goals
Organizational Structure and Administration of Chiang Mai University
Education Development Plan 5 years
Committee of University Council
Executives
Deans
Directors
Employee Council
Download CMU Powerpoint Template
Q&A
Privacy Policy
Contact
Suggestion
ข่าว
นักวิจัยคณะวิทย์ มช. นำทีมพัฒนานวัตกรรมแผ่นแปะแผลเส้นใยนาโนฯ เพิ่มสารสกัดมะม่วง ลดการติดเชื้อ
7 ธันวาคม 2566
คณะวิทยาศาสตร์
นักวิจัยศูนย์วิจัยฟิสิกส์และลำอนุภาค คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
นำทีมพัฒนานวัตกรรมแผ่นแปะแผลเส้นใยนาโน ด้วยเทคนิคอิเล็กโตรสปันที่มีไคโตซาน/พอลิไวนิลแอลกอฮอล์เป็นฐาน โดยมีการปรับปรุงสารละลายพอลิเมอร์ก่อนเข้าสู่กระบวนการผลิตเส้นใยด้วยเทคนิคอิเล็กโตรสปัน และมีการเพิ่มสารสกัดมะม่วงที่มีฤทธิ์ลดอาการการติดเชื้อ และลดอาการอักเสบของบาดแผล ก่อนการขึ้นรูปเป็นแผ่นแปะแผลเส้นใยนาโน ภายใต้ หัวข้อวิจัย เรื่อง
Argon Plasma Jet-Treated Poly (Vinyl Alcohol)/Chitosan and PEG 400 Plus
Mangifera indica
Leaf Extract for Electrospun Nanofiber Membranes: In Vitro Study
จากผลการศึกษา พบว่า
การบำบัดด้วยพลาสมาในสารละลายโพลิเมอร์ ก่อนการสร้างเส้นใยด้วยเทคนิคอิเล็กโตรสปินนิง
ทำให้ความหนืดของสารละลายโพลิเมอร์, ค่าการนำไฟฟ้า และเส้นผ่านศูนย์กลางของเส้นใยนาโนเพิ่มขึ้น
นอกจากนี้
การเติมสารสกัดมะม่วงเข้ากับสารละลายพอลิเมอร์ที่มีไคโตซาน/พอลิไวนิลแอลกอฮอล์เป็นฐาน
ยังทำให้ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของเส้นใยลดลง เมื่อเปรียบเทียบกับแผ่นเยื่ออิเล็กโทรสปันที่ไม่มีสารสกัดมะม่วง
อีกทั้งแผ่นแปะแผลเส้นใยนาโน อิเล็กโทรสปินที่มีไคโตซาน/พอลิไวนิลแอลกอฮอล์เป็นฐาน ซึ่งมีสารสกัดมะม่วง
ยังช่วยยับยั้งเชื้อ Escherichia coli และ Staphylococcus aureus ได้ และช่วยส่งเสริมให้แผลหายเร็วขึ้นอีกด้วย
งานวิจัยนี้ สามารถพัฒนาต่อยอดเป็น
วัสดุแผ่นปิดแผลที่เป็นทางเลือกสำหรับผู้ที่มีปัญหา หรือมีประวัติการแพ้ยากลุ่มยาปฏิชีวนะ
ที่มีขายตามท้องตลาด และเป็นทางเลือกสำหรับผู้ที่ชื่นชอบในการใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมจากผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ
ผลงานได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสาร Polymers
Published : 2 June 2023
https://doi.org/10.3390/polym15112559
ทีมวิจัย
นักวิจัยศูนย์วิจัยฟิสิกส์และลำอนุภาค คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ นำโดย ศ.ดร.ธีรวรรณ บุญญวรรณ, นางสาวปองพรรณ สุคำ, นายพิพัฒน์ ปรมาพิจิตรวัฒน์
ร่วมกับ รศ.ดร.วินิตา บุณโยดม ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ดร.ดลพร ดาราณรงค์ สถาบันวิจัยพหุศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, นางสาวธันย์ณภัทร์ เจนวรพจน์ ห้องปฏิบัติการผลิตพลาสติกชีวภาพสำหรับทางการแพทย์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,รศ.ดร.หมุดตอเล็บ หนิสอ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์, รศ.ดร.สมศักดิ์ แดงติ๊บ สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ และ ดร.จักรพงศ์ ขึ้นแสน วิทยาลัยนานาชาตินวัตกรรมดิจิทัล มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
งานวิจัยและนวัตกรรม
บทความ
ข่าวเด่น
แกลลอรี่
×
RoomID:
Room Name:
Description: