Curricular
Seperating Faculties
Search for Curriculums
Bachelor’s Degree
Master’s Degree
Doctoral Degree
Other Curriculums
Studying at CMU
Application of Bachelor's Degree
Application for Graduate Studies
Application of International Program
CMU Presidential Scholarship
Faculties and Departments
Faculties
CMU’s Organizations
Other Division
News
Research and Innovation News
Outstanding News
Outstanding Staff
Prize and Pride
Conference and Seminar
Executives' News
Job Application
Procurement
Event Calendar
COVID-19 and PM2.5
Sports
Featured
Health
Laws and Regulations
Donations
Technology News
Religions
Journals
Articles on CMU 60 Years
About CMU
Background
Resolution/ Vision/ Mission/Values and Organizational Culture
Authority
CMU Corporate Identity
Organizational Structure and Administration of Chiang Mai University
Education Development Plan 5 years
Committee of University Council
Executives
Deans
Directors
Employee Council
Other related links
CMU First Year
CMU IT Life
Exchange Programs
Scholarships
Photo & News Archive
Open Data Integrity and Transparency Assessment : OIT
Privacy Policy
Contact
ภาษา
TH
|
EN
|
CN
หน้าแรก
ข่าว
ข่าว
นักวิจัย MRDI หารือผู้ว่าฯ ลำปาง และ ผอ. สบอ.13 สาขาลำปาง ขับเคลื่อนงานวิจัย PM 2.5
18 กรกฎาคม 2568
สถาบันวิจัยพหุศาสตร์
เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม 2568 ดร.กรด เหล็กสมบูรณ์ นักวิจัย เชี่ยวชาญ สถาบันวิจัยพหุศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เข้าพบผู้บริหารและคณะทำงานในจังหวัดลำปาง เพื่อหารือแนวทางการดำเนินงานโครงการวิจัย “รูปแบบการบริหารจัดการไฟป่าแบบบูรณาการเพื่อลด PM 2.5 โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและกระบวนการมีส่วนร่วมของสังคมในจังหวัดลำพูน ลำปาง และแม่ฮ่องสอน”
เมื่อเวลา 09.30 น. ดร.กรด เหล็กสมบูรณ์ ได้เข้าพบ นายชุติเดช มีจันทร์ ผู้ว่าราชการจังหวัดลำปาง พร้อมด้วย นายกฤษณะ พินิจ รองผู้ว่าราชการจังหวัดลำปาง และคณะทำงาน ณ ศาลากลางจังหวัดลำปาง เพื่อปรึกษาหารือเกี่ยวกับแนวทางการดำเนินงานโครงการวิจัยดังกล่าว ซึ่งมีเป้าหมายสำคัญในการลดปัญหาฝุ่น PM 2.5 ในพื้นที่ภาคเหนือ
ต่อมาในเวลา 11.00 น. ดร.กรด เหล็กสมบูรณ์ ได้เดินทางไปยังสำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 13 สาขาลำปาง เพื่อเข้าพบ นายสุธน ตันโสภณธนาศักดิ์ นักวิชาการป่าไม้ชำนาญการพิเศษ ผู้อำนวยการสำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 13 สาขาลำปาง และคณะทำงาน เพื่อหารือแนวทางความร่วมมือในการดำเนินโครงการวิจัยนี้ร่วมกัน ซึ่งคาดว่าจะมีการบูรณาการการทำงานร่วมกันระหว่างหน่วยงานภาครัฐและภาคส่วนต่าง ๆ เพื่อให้การบริหารจัดการไฟป่าและปัญหา PM 2.5 มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
โครงการวิจัยนี้ถือเป็นส่วนสำคัญในการแก้ไขปัญหามลภาวะทางอากาศในพื้นที่ภาคเหนือ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในจังหวัดลำพูน ลำปาง และแม่ฮ่องสอน ซึ่งประสบปัญหาไฟป่าและฝุ่น PM 2.5 เป็นประจำทุกปี การนำเทคโนโลยีดิจิทัลและกระบวนการมีส่วนร่วมของสังคมมาใช้ จะช่วยให้การบริหารจัดการเป็นไปอย่างมีระบบและยั่งยืน
ประชุมสัมมนา/กิจกรรมของมหาวิทยาลัย
แกลลอรี่
×
RoomID:
Room Name:
Description: