CMU
Curricular
Seperating Faculties
Search for Curriculums
Bachelor’s Degree
Master’s Degree
Doctoral Degree
Other Curriculums
|
Studying at CMU
Application of Bachelor's Degree
Application for Graduate Studies
Application of International Program
CMU Presidential Scholarship
|
Faculties and Departments
Faculties
CMU’s Organizations
Other Division
|
TH
EN
CN
TH
EN
CN
Curricular
Seperating Faculties
Search for Curriculums
Bachelor’s Degree
Master’s Degree
Doctoral Degree
Other Curriculums
Studying at CMU
Application of Bachelor's Degree
Application for Graduate Studies
Application of International Program
CMU Presidential Scholarship
Faculties and Departments
Faculties
CMU’s Organizations
Other Division
News
Research and Innovation News
Outstanding News
Outstanding Staff
Prize and Pride
Conference and Seminar
Executives' News
Job Application
Procurement
Event Calendar
COVID-19 and PM2.5
About CMU
Background
The 60th Anniversary of Chiang Mai University
Resolution/ Vision/ Mission/Values and Organizational Culture
Authority
The University’s Logo
About CMU
Open Data Integrity and Transparency Assessment : OIT
CMU 360
Sustainable Development Goals
Organizational Structure and Administration of Chiang Mai University
Education Development Plan 5 years
Committee of University Council
Executives
Deans
Directors
Employee Council
Download CMU Powerpoint Template
Q&A
Privacy Policy
Contact
Suggestion
ข่าว
ยกระดับ “ต้นแบบระบบอาหารเกษตรอินทรีย์ฯ” อาจารย์ วิศวะ มช. ร่วมกับ สสส. เดินหน้าโครงการ Chiang Mai Greentopia
17 มกราคม 2568
คณะวิศวกรรมศาสตร์
ศาสตราจารย์ ดร.พวงรัตน์ แก้วล้อม
อาจารย์ ประจำภาควิชา วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ดำเนินโครงการ
Chiang Mai Greentopia
: ต้นแบบการสร้างความมั่นคงทางอาหาร สู่วิถีการบริโภคอาหารอินทรีย์เพื่อสุขภาพอย่างมีส่วนร่วม
โครงการ Chiang Mai Greentopia ดำเนินตั้งแต่ปี พ.ศ. 2565 ตามยุทศาสตร์การขับเคลื่อนนโยบายด้านอาหารของ สสส. โดยมี ศาสตราจารย์ ดร.พวงรัตน์ แก้วล้อม เป็นผู้จัดการโครงการฯ
โครงการดังกล่าวฯ จัดขึ้นเพื่อพัฒนา “ระบบอาหารเพื่อสุขภาวะตลอดห่วงโซ่” โดยการเลือกปลูก และบริโภค ผักพื้นบ้านอินทรีย์ที่อุดมไปด้วยสารอาหารและปราศจากสารเคมีตกค้าง เป็นวิธีที่ช่วยลงความเสี่ยงและบรรเทาอาการของกลุ่มโรค NCDs ซึ่งผลจากการขับเคลื่อนโครงการที่ผ่านมา ประสบความสำเร็จเป็นอย่างมาก โดยวัดจากผลสุ่มตรวจเลือดของชาวเชียงใหม่ 400 คน ในเดือน ธันวาคม ปีพ.ศ. 2567 ที่ผ่านมา พบว่าผลการจัดอันดับจังหวังที่ประชากรมีสารเคมีตกค้างในเลือดของจังหวัดเชียงใหม่ ลดลงมาอยู่อันดับ 4 จากเดิมที่สูงเป็นอันดับ 1 ของประเทศ
สุขภาพ
ข่าวเด่น
แกลลอรี่
×
RoomID:
Room Name:
Description: