CMU
หลักสูตร
แยกตามคณะ
ค้นหาหลักสูตร
ปริญญาตรี
ปริญญาโท
ปริญญาเอก
หลักสูตรอื่นๆ
|
การศึกษา
การรับสมัครปริญญาตรี
การรับสมัครระดับบัณฑิตศึกษา
การรับสมัครหลักสูตรนานาชาติ
ทุนอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
|
คณะและหน่วยงาน
คณะ
หน่วยงาน
ส่วนงานอื่นๆ
|
TH
EN
CN
TH
EN
CN
หลักสูตร
แยกตามคณะ
ค้นหาหลักสูตร
ปริญญาตรี
ปริญญาโท
ปริญญาเอก
หลักสูตรอื่นๆ
การศึกษา
การรับสมัครปริญญาตรี
การรับสมัครระดับบัณฑิตศึกษา
การรับสมัครหลักสูตรนานาชาติ
ทุนอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คณะและหน่วยงาน
คณะ
หน่วยงาน
ส่วนงานอื่นๆ
ข่าวสาร
ข่าวงานวิจัยและนวัตกรรม
ข่าวเด่น
ข่าวบุคคลเด่น
รางวัลและความภาคภูมิใจ
ประชุมสัมมนา/กิจกรรมของมหาวิทยาลัย
ภาพข่าวผู้บริหาร
ข่าวรับสมัครงาน
ข่าวจัดซื้อจัดจ้าง
ปฏิทินกิจกรรม
COVID-19 และ PM2.5
เกี่ยวกับ มช.
ประวัติความเป็นมา
60 ปี มช.
ปณิธาน/วิสัยทัศน์/พันธกิจ/ค่านิยมและวัฒนธรรมองค์กร
อำนาจหน้าที่
สัญลักษณ์มหาวิทยาลัย
เกี่ยวกับมช.
ข้อมูลสาธารณะ
CMU 360 องศา
SDGs
โครงสร้างองค์กรและการบริหารมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนพัฒนาการศึกษามช. ระยะ 5 ปี
คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย
คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัย
ผู้บริหารส่วนงาน
ผู้บริหารหน่วยงาน
สภาพนักงาน
Download CMU Powerpoint Template
ช่องทางการสอบถามข้อมูล (Q&A)
นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
ติดต่อเรา
เสนอแนะ/ร้องเรียน
ข่าว
อาจารย์สังกัดคณะสัตวแพทยศาสตร์ มช. ร่วมเป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ใน โครงการอบรมการพัฒนาองค์ความรู้ของบุคลากรด้านการศึกษาการใช้การเปลี่ยนแปลงของระดับฮอร์โมนในร่างกายสัตว์เป็นเครื่องมือในการประเมินและติดตามภาวะเครียดของสัตว์ เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2567
18 มิถุนายน 2567
คณะสัตวแพทยศาสตร์
รศ.ดร.สพ.ญ.จารุวรรณ คนมี อาจารย์สังกัดสำนักวิชาสัตวแพทยศาสตร์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พร้อมด้วย Dr. Jannie Brown ผู้เชี่ยวชาญด้าน Endocrine and Reproductive Physiology จาก Smithsonian Conservation Biology Institute สหรัฐอเมริกา ร่วมเป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ใน “โครงการอบรมการพัฒนาองค์ความรู้ของบุคลากรด้านการศึกษาการใช้การเปลี่ยนแปลงของระดับฮอร์โมนในร่างกายสัตว์เป็นเครื่องมือในการประเมินและติดตามภาวะเครียดของสัตว์” เพื่อให้บุคลากรและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ได้ร่วมเสริมสร้างและพัฒนาองค์ความรู้ทางด้าน Endocrine โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเปลี่ยนของระดับฮอร์โมนในร่างกายสัตว์ ส่งผลสำคัญต่อการนำมาปรับใช้เพื่อประเมินและติดตามภาวะเครียดที่เกิดขึ้นของพะยูนและเต่าตนุ ถือเป็นตัวชี้วัดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมในที่อยู่อาศัยที่สำคัญ จัดโดย ศูนย์วิจัยทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งทะเลอันดามันตอนล่าง (ศวอล.) กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2567 ณ ศูนย์วิจัยทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งทะเลอันดามันตอนบน จังหวัดภูเก็ต
ประชุมสัมมนา/กิจกรรมของมหาวิทยาลัย
แกลลอรี่
×
RoomID:
Room Name:
Description: