CMU
หลักสูตร
แยกตามคณะ
ค้นหาหลักสูตร
ปริญญาตรี
ปริญญาโท
ปริญญาเอก
หลักสูตรอื่นๆ
|
การศึกษา
การรับสมัครปริญญาตรี
การรับสมัครระดับบัณฑิตศึกษา
การรับสมัครหลักสูตรนานาชาติ
ทุนอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
|
คณะและหน่วยงาน
คณะ
หน่วยงาน
ส่วนงานอื่นๆ
|
TH
EN
CN
TH
EN
CN
หลักสูตร
แยกตามคณะ
ค้นหาหลักสูตร
ปริญญาตรี
ปริญญาโท
ปริญญาเอก
หลักสูตรอื่นๆ
การศึกษา
การรับสมัครปริญญาตรี
การรับสมัครระดับบัณฑิตศึกษา
การรับสมัครหลักสูตรนานาชาติ
ทุนอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คณะและหน่วยงาน
คณะ
หน่วยงาน
ส่วนงานอื่นๆ
ข่าวสาร
ข่าวงานวิจัยและนวัตกรรม
ข่าวเด่น
ข่าวบุคคลเด่น
รางวัลและความภาคภูมิใจ
ประชุมสัมมนา/กิจกรรมของมหาวิทยาลัย
ภาพข่าวผู้บริหาร
ข่าวรับสมัครงาน
ข่าวจัดซื้อจัดจ้าง
ปฏิทินกิจกรรม
COVID-19 และ PM2.5
เกี่ยวกับ มช.
ประวัติความเป็นมา
60 ปี มช.
ปณิธาน/วิสัยทัศน์/พันธกิจ/ค่านิยมและวัฒนธรรมองค์กร
อำนาจหน้าที่
สัญลักษณ์มหาวิทยาลัย
เกี่ยวกับมช.
ข้อมูลสาธารณะ
CMU 360 องศา
SDGs
โครงสร้างองค์กรและการบริหารมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนพัฒนาการศึกษามช. ระยะ 5 ปี
คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย
คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัย
ผู้บริหารส่วนงาน
ผู้บริหารหน่วยงาน
สภาพนักงาน
Download CMU Powerpoint Template
ช่องทางการสอบถามข้อมูล (Q&A)
นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
ติดต่อเรา
เสนอแนะ/ร้องเรียน
ข่าว
ทีมวิจัย AI มช. สร้างผลงานคว้ารางวัล Best Paper Award ระดับนานาชาติ
6 กุมภาพันธ์ 2562
คณะวิศวกรรมศาสตร์
ทีมวิจัยปัญญาประดิษฐ์ (AI) จากห้องวิจัยปัญญาเชิงคำนวณ (Computational Intelligence Research Laboratory: CI Lab) คณะวิศวกรรมศาสตร์ และสถาบันวิศวกรรมชีวการแพทย์ (Biomedical Engineering Institute) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประกอบด้วย โดย รศ.ดร.ศันสนีย์ เอื้อพันธ์วิริยะกุล และ รศ.ดร.นิพนธ์ ธีรอำพน ได้รับรางวัล Best Paper Award ในงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติ International Conference on Green and Human Information Technology 2019 จัดโดย Institute of Electronics and Information Engineers (IEIE, since 1946) ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย ระหว่างวันที่ 16-18 มกราคม 2562
บทความ A Novel Self Organizing Feature Map (SOFM) for Uncertain Data โดย รศ.ดร.ศันสนีย์ เอื้อพันธ์วิริยะกุล และ รศ.ดร.นิพนธ์ ธีรอำพน จากคณะวิศวกรรมศาสตร์ และสถาบันวิศวกรรมชีวการแพทย์ เป็นงานวิจัยที่นำเสนอวิธีการใหม่ในโลกของ AI เพื่อใช้ในการจัดกลุ่มข้อมูล วิธีการดังกล่าวทำให้สามารถใช้งาน SOFM กับข้อมูลที่เป็นตัวแปรภาษา (Linguistic variable) ได้เป็นครั้งแรกของโลก โดยใช้เลขฟัซซี (Fuzzy number) แทนการใช้ข้อมูลที่เป็นเพียงตัวเลขเท่านั้นอย่างที่เคยเป็นมา วิธีการนี้จึงเป็นงานวิจัยพื้นฐานที่ต้องอาศัยคณิตศาสตร์ขั้นสูงที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้และสร้างผลกระทบกับระบบ AI ในแวดวงต่างๆ ได้ทั่วโลก โดยในปัจจุบันทีมวิจัย AI มช. ได้ดำเนินการสร้างระบบ AI ให้กับบริษัทขนาดใหญ่ กองทัพ โรงพยาบาล โรงไฟฟ้า ฯลฯ ครอบคลุมปัญหาด้าน Big data, Data mining, Data prediction, Pattern analysis ฯลฯ
รางวัลและความภาคภูมิใจ
เทคโนโลยี
ข่าวเด่น
แกลลอรี่
×
RoomID:
Room Name:
Description: