CMU
หลักสูตร
แยกตามคณะ
ค้นหาหลักสูตร
ปริญญาตรี
ปริญญาโท
ปริญญาเอก
หลักสูตรอื่นๆ
|
การศึกษา
การรับสมัครระดับปริญญาตรี
การรับสมัครระดับบัณฑิตศึกษา
การรับสมัครหลักสูตรนานาชาติ
ทุนอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
|
คณะและหน่วยงาน
คณะ
หน่วยงาน
ส่วนงานอื่นๆ
|
TH
EN
CN
TH
EN
CN
หลักสูตร
แยกตามคณะ
ค้นหาหลักสูตร
ปริญญาตรี
ปริญญาโท
ปริญญาเอก
หลักสูตรอื่นๆ
การศึกษา
การรับสมัครระดับปริญญาตรี
การรับสมัครระดับบัณฑิตศึกษา
การรับสมัครหลักสูตรนานาชาติ
ทุนอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คณะและหน่วยงาน
คณะ
หน่วยงาน
ส่วนงานอื่นๆ
ข่าวสาร
ข่าวงานวิจัยและนวัตกรรม
ข่าวเด่น
ข่าวบุคคลเด่น
รางวัลและความภาคภูมิใจ
ประชุมสัมมนา/กิจกรรมของมหาวิทยาลัย
ภาพข่าวผู้บริหาร
ข่าวรับสมัครงาน
ข่าวจัดซื้อจัดจ้าง
ปฏิทินกิจกรรม
COVID-19 และ PM2.5
เกี่ยวกับ มช.
ประวัติความเป็นมา
60 ปี มช.
ปณิธาน/วิสัยทัศน์/พันธกิจ/ค่านิยมและวัฒนธรรมองค์กร
อำนาจหน้าที่
สัญลักษณ์มหาวิทยาลัย
เกี่ยวกับมช.
ข้อมูลสาธารณะ
CMU 360 องศา
SDGs
โครงสร้างองค์กรและการบริหารมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนพัฒนาการศึกษามช. ระยะ 5 ปี
คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย
คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัย
ผู้บริหารส่วนงาน
ผู้บริหารหน่วยงาน
สภาพนักงาน
Download CMU Powerpoint Template
ช่องทางการสอบถามข้อมูล (Q&A)
นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
ติดต่อเรา
เสนอแนะ/ร้องเรียน
ข่าว
พบความลับของผีเสื้อกลางคืนที่ดูดเลือดเป็นครั้งแรกในโลก
28 ตุลาคม 2564
คณะเกษตรศาสตร์
หนังสือเล่มนี้เป็นหนังสือเกี่ยวกับการค้นพบความลับของผีเสื้อกลางคืนที่ดูดเลือดเป็นครั้งแรกในโลก โดยผู้เขียนทำการศึกษาวิจัย ในเวลากลางคืน จำนวน 565 คืน ในพื้นที่ที่เป็นแหล่งอาศัยของผีเสื้อนี้ซึ่งอาศัยอยู่ในเขตป่าตามประเทศต่างๆ ตั้งแต่ประเทศเนปาล อินเดีย ไทย มาเลเซียจนถึงปาปัวนิวกีนี เป็นเวลา 30 ปี
ผีเสื้อที่ดูดเลือดโดยการเจาะผิวหนังมีในสกุล Calyptra เท่านั้น ซึ่งทั้งหมดมี 17 ชนิด แต่มีเพียง 8 ชนิดที่ดูดเลือด ซึ่งมีเหยื่อเช่น ช้าง กวาง แรด สมเสร็จ ม้า วัว ควาย หมู และบางครั้งมนุษย์ (ทั้งหมดถูกบันทึกไว้ในภาพถ่ายสี) ส่วนอีก 9 ชนิด แทงดูดน้ำหวานจากผลไม้ (หรือยังไม่มีข้อมูล) มีการอภิปรายว่าผีเสื้อนี้อาจจะเป็นพาหนะนำเชื้อโรคมาสู่สัตว์และมนุษย์ มีการค้นพบข้อมูลใหม่ของตัวหนอนของผีเสื้อนี้พร้อมพืชอาศัยโดยมีภาพประกอบเป็นรูปสี
หนังสือเล่มนี้ได้รวบรวมงานวิจัยของผู้เขียนทั้งหมดที่ได้ตีพิมพ์ไปแล้วและงานวิจัยใหม่ เพื่อให้ได้เข้าใจถึงแมลงกลุ่มหนึ่งที่มีชีวิตและความซับซ้อนที่มนุษย์ไม่เคยเรียนรู้หรือเปิดเผยหรือสัมผัสมาก่อนตลอดตะยะเวลายาวนาน
Dr. Hans B?nziger สัญชาติสวิสที่เติบโตในประเทศอิตาลี มาประเทศไทยครั้งแรกด้วยทุนรัฐบาลไทยในโครงการ UNESCO ปี 2508-2510 สังกัดภาควิชากีฏวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ซึ่งผลงานเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอกของ Swiss Federal Institute of Technology, Z?rich, Switzerland
บทความ
ข่าวเด่น
แกลลอรี่
×
RoomID:
Room Name:
Description: