หลักสูตร
แยกตามคณะ
ค้นหาหลักสูตร
ปริญญาตรี
ปริญญาโท
ปริญญาเอก
หลักสูตรอื่นๆ
การศึกษา
การรับสมัครระดับปริญญาตรี
การรับสมัครระดับบัณฑิตศึกษา
การรับสมัครหลักสูตรนานาชาติ
ทุนอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คณะและหน่วยงาน
คณะ
หน่วยงาน
ส่วนงานอื่นๆ
ข่าวสาร
ข่าวงานวิจัยและนวัตกรรม
ข่าวเด่น
ข่าวบุคคลเด่น
รางวัลและความภาคภูมิใจ
ประชุมสัมมนา/กิจกรรมของมหาวิทยาลัย
ภาพข่าวผู้บริหาร
ข่าวรับสมัครงาน
ข่าวจัดซื้อจัดจ้าง
ปฏิทินกิจกรรม
COVID-19 และ PM2.5
กีฬา
Featured
สุขภาพ
กฎหมายกฎระเบียบ
การบริจาค
เทคโนโลยี
ศาสนา
วารสาร
บทความเกี่ยวกับ 60 ปี มช.
เกี่ยวกับ มช.
ประวัติความเป็นมา
ปณิธาน/วิสัยทัศน์/พันธกิจ/ค่านิยมและวัฒนธรรมองค์กร
อำนาจหน้าที่
เอกลักษณ์องค์กร (CI)
โครงสร้างองค์กรและการบริหารมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนพัฒนาการศึกษามช. ระยะ 5 ปี
คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย
คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัย
ผู้บริหารส่วนงาน
ผู้บริหารหน่วยงาน
สภาพนักงาน
ลิงค์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
CMU First Year
CMU IT Life
โครงการแลกเปลี่ยน
ทุนการศึกษา
คลังภาพคลังข่าว
ข้อมูลสาธารณะ
นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
ติดต่อเรา
ภาษา
ภาษาไทย
อังกฤษ
จีน
TH
|
EN
|
CN
หน้าแรก
ข่าว
ข่าว
ASEAN Trip 2025: Vientiane – Xishuangbanna
1 เมษายน 2568
คณะสังคมศาสตร์
นักศึกษาสาขาวิชาอาเซียนศึกษา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เดินทางไปทัศนศึกษาและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ณ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวและสาธารณรัฐประชาชนจีน ระหว่างวันที่ 25-29 มีนาคม 2568 เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจด้านวัฒนธรรม เศรษฐกิจ การเมือง และการพัฒนาในภูมิภาคอาเซียน นักศึกษาได้รับฟังการบรรยายหัวข้อ "Culture, Political, Economic and Development in Laos" จากอาจารย์ผู้เชี่ยวชาญของสำนักวิชา International Development Studies มหาวิทยาลัยแห่งชาติลาว พร้อมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวโน้มทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองของลาวในบริบทอาเซียน นอกจากนี้ ยังได้เยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์แห่งชาติลาวและพิพิธภัณฑ์ไกรสอน พรมวิหาร เพื่อศึกษาและทำความเข้าใจพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ของลาวและบทบาทของผู้นำในอดีต
จากนั้น นักศึกษาเดินทางจากเวียงจันทน์ไปยังเมืองสิบสองปันนา มณฑลยูนนาน ประเทศจีน ด้วยรถไฟความเร็วสูง เพื่อศึกษาการลงทุนข้ามชาติ ความร่วมมือระหว่างลาวและจีน และผลกระทบของการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานต่อภูมิภาคอาเซียน รวมถึงศึกษาประวัติศาสตร์ชาติพันธุ์ไทลื้อและบทบาทของชาติพันธุ์ในภาคการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ซึ่งเป็นตัวอย่างของการอนุรักษ์และส่งเสริมอัตลักษณ์ชาติพันธุ์ให้สอดคล้องกับการพัฒนาเศรษฐกิจ
การเรียนในสาขาวิชาอาเซียนศึกษา ไม่ได้จำกัดอยู่เพียงแค่ในห้องเรียน แต่เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ออกไปสัมผัสประสบการณ์จริงในพื้นที่ เรียนรู้จากผู้เชี่ยวชาญ และเข้าใจบริบทของอาเซียนผ่านการเดินทางแลกเปลี่ยนและศึกษาภาคสนาม ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญของการพัฒนาบัณฑิตที่มีความรู้รอบด้าน คิดวิเคราะห์เป็น เคารพความหลากหลาย และพร้อมเป็นพลเมืองโลก หากคุณสนใจศึกษาเกี่ยวกับอาเซียนและอยากเปิดโลกการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ตรง สมัครเข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งของเราที่คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ แล้วมาร่วมออกเดินทางไปเรียนรู้อาเซียนด้วยกัน!
ข่าวเด่น
แกลลอรี่
×
RoomID:
Room Name:
Description: