CMU
หลักสูตร
แยกตามคณะ
ค้นหาหลักสูตร
ปริญญาตรี
ปริญญาโท
ปริญญาเอก
หลักสูตรอื่นๆ
|
การศึกษา
การรับสมัครระดับปริญญาตรี
การรับสมัครระดับบัณฑิตศึกษา
การรับสมัครหลักสูตรนานาชาติ
ทุนอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
|
คณะและหน่วยงาน
คณะ
หน่วยงาน
ส่วนงานอื่นๆ
|
TH
EN
CN
TH
EN
CN
หลักสูตร
แยกตามคณะ
ค้นหาหลักสูตร
ปริญญาตรี
ปริญญาโท
ปริญญาเอก
หลักสูตรอื่นๆ
การศึกษา
การรับสมัครระดับปริญญาตรี
การรับสมัครระดับบัณฑิตศึกษา
การรับสมัครหลักสูตรนานาชาติ
ทุนอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คณะและหน่วยงาน
คณะ
หน่วยงาน
ส่วนงานอื่นๆ
ข่าวสาร
ข่าวงานวิจัยและนวัตกรรม
ข่าวเด่น
ข่าวบุคคลเด่น
รางวัลและความภาคภูมิใจ
ประชุมสัมมนา/กิจกรรมของมหาวิทยาลัย
ภาพข่าวผู้บริหาร
ข่าวรับสมัครงาน
ข่าวจัดซื้อจัดจ้าง
ปฏิทินกิจกรรม
COVID-19 และ PM2.5
เกี่ยวกับ มช.
ประวัติความเป็นมา
60 ปี มช.
ปณิธาน/วิสัยทัศน์/พันธกิจ/ค่านิยมและวัฒนธรรมองค์กร
อำนาจหน้าที่
สัญลักษณ์มหาวิทยาลัย
เกี่ยวกับมช.
ข้อมูลสาธารณะ
CMU 360 องศา
SDGs
โครงสร้างองค์กรและการบริหารมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนพัฒนาการศึกษามช. ระยะ 5 ปี
คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย
คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัย
ผู้บริหารส่วนงาน
ผู้บริหารหน่วยงาน
สภาพนักงาน
Download CMU Powerpoint Template
ช่องทางการสอบถามข้อมูล (Q&A)
นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
ติดต่อเรา
เสนอแนะ/ร้องเรียน
ข่าว
บรรยายพิเศษ Strong Motion Seismology and Virtual Seismic Network การพัฒนาเครือข่ายตรวจวัดแผ่นดินไหวและการแปลผลคลื่นแผ่นดินไหว ณ วิศวฯ มช.
19 มีนาคม 2564
คณะวิศวกรรมศาสตร์
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยกลุ่มวิจัยการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสม (OASYS) ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ร่วมกับศูนย์วิจัยด้านการจัดการภัยพิบัติทางธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (CENDIM) กลุ่มบูรณาการวิชาการทางด้านวิทยาการข้อมูล มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Data Science Consortium, Chiang Mai University หรือ DSC-CMU) จัดบรรยายพิเศษเรื่อง Strong Motion Seismology and Virtual Seismic Network การพัฒนาเครือข่ายตรวจวัดแผ่นดินไหวและการแปลผลคลื่นแผ่นดินไหว ด้วยประสงค์ให้ผู้เข้าร่วมฯ แลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องระบบตรวจวัดและแปลผล ตลอดจนตระหนักถึงแผ่นดินไหวอันเป็นภัยพิบัติที่เกิดขึ้นอย่างคาดการณ์ไม่ได้ แต่มี ความรุนแรง ทั้งยังส่งผลต่อชีวิต และทรัพย์สินของประชาชนในวงกว้าง ด้วยการใช้การใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและ การประมวลผลสมรรถนะสูง เป็นเครื่องมือสำคัญเพื่อติดตาม ตลอดจนวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์แผ่นดินไหว โดยได้รับเกียรติจาก ดร.ไพบูลย์ นวลนิล นักแผ่นดินไหววิทยา ผู้เชี่ยวชาญด้านระบบตรวจวัดและแปลผลคลื่นแผ่นดินไหว ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์การทำงาน เมื่อวันศุกร์ที่ 5 มีนาคม 2564 เวลา 09.00 น. ห้องประชุมใหญ่ ชั้น 3 อาคารวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยี 40 ปีวิศวฯ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มช.
ประชุมสัมมนา/กิจกรรมของมหาวิทยาลัย
แกลลอรี่
×
RoomID:
Room Name:
Description: