CMU
หลักสูตร
แยกตามคณะ
ค้นหาหลักสูตร
ปริญญาตรี
ปริญญาโท
ปริญญาเอก
หลักสูตรอื่นๆ
|
การศึกษา
การรับสมัครระดับปริญญาตรี
การรับสมัครระดับบัณฑิตศึกษา
การรับสมัครหลักสูตรนานาชาติ
ทุนอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
|
คณะและหน่วยงาน
คณะ
หน่วยงาน
ส่วนงานอื่นๆ
|
TH
EN
CN
TH
EN
CN
หลักสูตร
แยกตามคณะ
ค้นหาหลักสูตร
ปริญญาตรี
ปริญญาโท
ปริญญาเอก
หลักสูตรอื่นๆ
การศึกษา
การรับสมัครระดับปริญญาตรี
การรับสมัครระดับบัณฑิตศึกษา
การรับสมัครหลักสูตรนานาชาติ
ทุนอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คณะและหน่วยงาน
คณะ
หน่วยงาน
ส่วนงานอื่นๆ
ข่าวสาร
ข่าวงานวิจัยและนวัตกรรม
ข่าวเด่น
ข่าวบุคคลเด่น
รางวัลและความภาคภูมิใจ
ประชุมสัมมนา/กิจกรรมของมหาวิทยาลัย
ภาพข่าวผู้บริหาร
ข่าวรับสมัครงาน
ข่าวจัดซื้อจัดจ้าง
ปฏิทินกิจกรรม
COVID-19 และ PM2.5
เกี่ยวกับ มช.
ประวัติความเป็นมา
60 ปี มช.
ปณิธาน/วิสัยทัศน์/พันธกิจ/ค่านิยมและวัฒนธรรมองค์กร
อำนาจหน้าที่
สัญลักษณ์มหาวิทยาลัย
เกี่ยวกับมช.
ข้อมูลสาธารณะ
CMU 360 องศา
SDGs
โครงสร้างองค์กรและการบริหารมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนพัฒนาการศึกษามช. ระยะ 5 ปี
คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย
คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัย
ผู้บริหารส่วนงาน
ผู้บริหารหน่วยงาน
สภาพนักงาน
Download CMU Powerpoint Template
ช่องทางการสอบถามข้อมูล (Q&A)
นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
ติดต่อเรา
เสนอแนะ/ร้องเรียน
ข่าว
Chiang Mai CCS ร่วมกับ ปตท. ลงพื้นที่นำร่องทดสอบระบบประเมินความรุนแรงต่อสิ่งแวดล้อมใต้ทะเลเพื่อต่อยอด TRL ในระดับที่สูงขึ้น (สนับสนุนโครงการวิจัยโดย บพข. และ ปตท.)
28 เมษายน 2568
คณะวิศวกรรมศาสตร์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐนันท์ พรหมสุข
หัวหน้าโครงการฯและอาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ พร้อมด้วย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จักรพงษ์ จำรูญ อาจารย์ ดร. กัญญา รัตนะมงคลกุล
อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล และ
อาจารย์นพรุจ ซื่อตรง
อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นทีมนักวิจัยในศูนย์วิจัยการดักจับและกักเก็บคาร์บอนไดออกไซด์เชียงใหม่ (Chiang Mai CCS) ร่วมกับทีมนักวิจัยของบริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) นำทุ่นอัจฉริยะที่พัฒนาโดยทีมวิจัย วิศวฯ มช. ลงดำน้ำทดสอบกลางทะเลอ่าวไทย ในระหว่างวันที่ 25 - 28 เมษายน 2568 โดยผนึกกำลังกับการประยุกต์เทคโนโลยี AI ในการวิเคราะห์ประเมินผลและทำนายผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศใต้ทะเลที่อาจเกิดขึ้นจากการรั่วไหลของสิ่งผิดปกติใต้ทะเล เพื่อพัฒนาระดับความพร้อมของเทคโนโลยีในระดับที่สูงขึ้น (TRL 5-6) โดยโครงการวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนจาก หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (บพข.) และบริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ภายใต้กรอบวิจัยด้านการดักจับและกักเก็บคาร์บอนไดออกไซด์ (Carbon Capture and Storage: CCS) และเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy)
โดยการลงทดสอบครั้งนี้ได้รับความอนุเคราะห์สถานที่จาก สถานีวิจัยประมงศรีราชา คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ประชุมสัมมนา/กิจกรรมของมหาวิทยาลัย
ข่าวเด่น
แกลลอรี่
×
RoomID:
Room Name:
Description: