หลักสูตร
แยกตามคณะ
ค้นหาหลักสูตร
ปริญญาตรี
ปริญญาโท
ปริญญาเอก
หลักสูตรอื่นๆ
การศึกษา
การรับสมัครระดับปริญญาตรี
การรับสมัครระดับบัณฑิตศึกษา
การรับสมัครหลักสูตรนานาชาติ
ทุนอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คณะและหน่วยงาน
คณะ
หน่วยงาน
ส่วนงานอื่นๆ
ข่าวสาร
ข่าวงานวิจัยและนวัตกรรม
ข่าวเด่น
ข่าวบุคคลเด่น
รางวัลและความภาคภูมิใจ
ประชุมสัมมนา/กิจกรรมของมหาวิทยาลัย
ภาพข่าวผู้บริหาร
ข่าวรับสมัครงาน
ข่าวจัดซื้อจัดจ้าง
ปฏิทินกิจกรรม
COVID-19 และ PM2.5
กีฬา
Featured
สุขภาพ
กฎหมายกฎระเบียบ
การบริจาค
เทคโนโลยี
ศาสนา
วารสาร
บทความเกี่ยวกับ 60 ปี มช.
เกี่ยวกับ มช.
ประวัติความเป็นมา
ปณิธาน/วิสัยทัศน์/พันธกิจ/ค่านิยมและวัฒนธรรมองค์กร
อำนาจหน้าที่
เอกลักษณ์องค์กร (CI)
โครงสร้างองค์กรและการบริหารมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนพัฒนาการศึกษามช. ระยะ 5 ปี
คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย
คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัย
ผู้บริหารส่วนงาน
ผู้บริหารหน่วยงาน
สภาพนักงาน
ลิงค์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
CMU First Year
CMU IT Life
โครงการแลกเปลี่ยน
ทุนการศึกษา
คลังภาพคลังข่าว
ข้อมูลสาธารณะ
นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
ติดต่อเรา
ภาษา
ภาษาไทย
อังกฤษ
จีน
TH
|
EN
|
CN
หน้าแรก
ข่าว
ข่าว
ผลงานวิจัยจากคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรื่อง Comparison of proteomic profiles and biological properties for corneal wound healing of canine amniotic membrane and its extracts ได้ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการนานาชาติ Veterinary Ophthalmology (Published : 30 July 2024)
7 สิงหาคม 2567
คณะสัตวแพทยศาสตร์
หนึ่งในผลงานวิจัยจากคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรื่อง Comparison of proteomic profiles and biological properties for corneal wound healing of canine amniotic membrane and its extracts ได้ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการนานาชาติ Veterinary Ophthalmology (Published : 30 July 2024) ซึ่งอยู่ในฐานข้อมูล ISI Quartile 2 (Journal Impact factor 1.7), SJR Quartile 1, Scopus Quartile 1
สามารถอ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่
https://onlinelibrary.wiley.com/doi/full/10.1111/vop.13255
งานวิจัยเรื่อง Comparison of proteomic profiles and biological properties for corneal wound healing of canine amniotic membrane and its extracts เป็นการศึกษาเปรียบเทียบองค์ประกอบโปรตีนในเยื่อหุ้มตัวอ่อนสุนัข (canine amniotic membrane) ด้วยวิธีโปรตีโอมิกส์ พบว่าในเยื่อหุ้มตัวอ่อนสุนัขมีโปรตีนหลายชนิด ซึ่งสามารถแบ่งโปรตีนออกตามคุณสมบัติในการออกฤทธิ์ ได้แก่ โปรตีนที่มีคุณสมบัติในการต้านอักเสบ (anti-inflammatory) ต้านการเกิดแผลเป็น (anti-fibrosis) ต้านจุลชีพ (anti-microbial) ต้านการสร้างหลอดเลือด (anti-angiogenic) กระตุ้นการสร้างเซลล์เยื่อบุผิว (promotion of epithelialization) ลดอาการเจ็บปวด (analgesia) และส่งเสริมการยึดเกาะและการเจริญเติบโตของเซลล์ (support cell adhesion and growth) ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อกระบวนการหายของแผล รวมถึงแผลที่กระจกตาด้วย นอกจากนี้ ยังมีการศึกษาองค์ประกอบโปรตีนในเยื่อหุ้มตัวอ่อนสุนัขในรูปแบบสารสกัดน้ำ และสารสกัดน้ำระเหยเป็นผงแห้ง โดยพบว่ามีองค์ประกอบของโปรตีนที่มีคุณสมบัติช่วยกระบวนการหายของแผล รวมถึงแผลที่กระจกตา จึงมีความเป็นไปได้ในการพัฒนาเยื่อหุ้มตัวอ่อนสุนัขเป็นรูปแบบยาหยอดตาต่อไป
งานวิจัยและนวัตกรรม
ข่าวเด่น
แกลลอรี่
×
RoomID:
Room Name:
Description: