การปรับพื้นฐานด้านนโยบายการศึกษาและการเรียนรู้เพื่อสร้างห่วงโซ่คุณค่าใหม่ทางด้านชีวภาพสำหรับวัสดุทางธรรมชาติ

5 พฤษภาคม 2565

คณะเกษตรศาสตร์

การปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตของเกษตรกรรายย่อยให้ดีขึ้นจำเป็นต้องเปลี่ยนแปลงจากวิธีการใช้พลังงานรูปแบบเดิม ๆ ที่มีการทำลายทรัพยากร ไปเป็นวิธีการที่ใช้วัสดุทางธรรมชาติและพลังงานหมุนเวียนที่นำกลับมาใช้ได้ใหม่และไม่ทำลายทรัพยากร สิ่งเหล่านี้จะเกิดขึ้นได้จะต้องทำการปรับพื้นฐานด้านนโยบายการศึกษาและการเรียนรู้เพื่อสร้างห่วงโซ่คุณค่าใหม่ทางด้านชีวภาพสำหรับวัสดุทางธรรมชาติ อาหาร เนื้อไม้ และพลังงาน ที่สอดคล้องกับภาพใหญ่ในเรื่องของสุขภาพ การผลิต และอุตสาหกรรมบริการ
ผลงานนี้ได้รับการตีพิมพ์ในวารสาร Forests
ติดตามอ่านเพิ่มเติมได้ที่ https://doi.org/10.3390/f12121670


#คณะเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ #ภาควิชาเกษตรที่สูงและทรัพยากรธรรมชาติ #ภาควิชาพืชศาสตร์และปฐพีศาสตร์ #ศูนย์วิจัยระบบทรัพยากรเกษตร #CMU #ChiangMaiUniversity #มช #มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
#มหาวิทยาลัยเชียงใหม่มหาวิทยาลัยชั้นนำที่รับผิดชอบต่อสังคมและการพัฒนาที่ยั่งยืน #CMUBCGmodel
#CMUSDGs #CMUSDG1 #CMUSDG2 #CMUSDG3 #CMUSDG1

แกลลอรี่