หลักสูตร
แยกตามคณะ
ค้นหาหลักสูตร
ปริญญาตรี
ปริญญาโท
ปริญญาเอก
หลักสูตรอื่นๆ
การศึกษา
การรับสมัครระดับปริญญาตรี
การรับสมัครระดับบัณฑิตศึกษา
การรับสมัครหลักสูตรนานาชาติ
ทุนอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คณะและหน่วยงาน
คณะ
หน่วยงาน
ส่วนงานอื่นๆ
ข่าวสาร
ข่าวงานวิจัยและนวัตกรรม
ข่าวเด่น
ข่าวบุคคลเด่น
รางวัลและความภาคภูมิใจ
ประชุมสัมมนา/กิจกรรมของมหาวิทยาลัย
ภาพข่าวผู้บริหาร
ข่าวรับสมัครงาน
ข่าวจัดซื้อจัดจ้าง
ปฏิทินกิจกรรม
COVID-19 และ PM2.5
กีฬา
Featured
สุขภาพ
กฎหมายกฎระเบียบ
การบริจาค
เทคโนโลยี
ศาสนา
วารสาร
บทความเกี่ยวกับ 60 ปี มช.
เกี่ยวกับ มช.
ประวัติความเป็นมา
ปณิธาน/วิสัยทัศน์/พันธกิจ/ค่านิยมและวัฒนธรรมองค์กร
อำนาจหน้าที่
เอกลักษณ์องค์กร (CI)
โครงสร้างองค์กรและการบริหารมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนพัฒนาการศึกษามช. ระยะ 5 ปี
คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย
คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัย
ผู้บริหารส่วนงาน
ผู้บริหารหน่วยงาน
สภาพนักงาน
ลิงค์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
CMU First Year
CMU IT Life
โครงการแลกเปลี่ยน
ทุนการศึกษา
คลังภาพคลังข่าว
ข้อมูลสาธารณะ
นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
ติดต่อเรา
ภาษา
ภาษาไทย
อังกฤษ
จีน
TH
|
EN
|
CN
หน้าแรก
ข่าว
ข่าว
ผลงานวิจัยจากคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรื่อง Characteristics of gut microbiota profiles in Asian elephants (Elephas maximus) with gastrointestinal disorders ได้ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการนานาชาติ Scientific Reports (Published : 8 January 2025)
7 มกราคม 2568
คณะสัตวแพทยศาสตร์
หนึ่งในผลงานวิจัยจากคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรื่อง Characteristics of gut microbiota profiles in Asian elephants (Elephas maximus) with gastrointestinal disorders ได้ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการนานาชาติ Scientific Reports (Published : 8 January 2025) ซึ่งอยู่ในฐานข้อมูล ISI Quartile 1 (Journal Impact factor 3.8), SJR Quartile 1, Scopus Quartile 1
สามารถอ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่
https://www.nature.com/articles/s41598-025-85495-0
งานวิจัยเรื่อง Characteristics of gut microbiota profiles in Asian elephants (Elephas maximus) with gastrointestinal disorders งานวิจัยนี้ศึกษาลักษณะโปรไฟล์จุลินทรีย์ในระบบทางเดินอาหารของช้างเอเชีย (Elephas maximus) ที่มีปัญหาทางเดินอาหาร ได้แก่ ท้องอืดและท้องเสีย ซึ่งเป็นอาการที่พบบ่อยและอาจเป็นอันตรายถึงชีวิตในช้างที่เลี้ยง โดยวิเคราะห์ด้วยวิธีการลำดับเบสบริเวณ V3-V4 ของยีน 16S rRNA เพื่อระบุชนิดและองค์ประกอบของจุลินทรีย์ในลำไส้ ผลการศึกษาพบว่าโครงสร้างชุมชนแบคทีเรียในสำไส้ของช้างที่มีปัญหาทางเดินอาหารแตกต่างจากช้างที่มีสุขภาพดีอย่างมีนัยสำคัญ โดยช้างสุขภาพดีมีองค์ประกอบแบคทีเรียที่ค่อนข้างสม่ำเสมอ บ่งชี้ถึงความสมดุลของจุลินทรีย์ในลำไส้ ขณะที่ช้างที่มีปัญหาทางเดินอาหารแสดงการเปลี่ยนแปลงในปริมาณของแบคทีเรียบางชนิด เช่น Rubrobacter spp. และ Rokubacteria, spp. ซึ่งเกี่ยวข้องกับกระบวนการย่อยลิกนินและการรักษาสมดุล pH ในลำไส้ นอกจากนี้ยังพบความแตกต่างในจุลินทรีย์ในลำไส้ระหว่างช้างที่มีอาการท้องอืดและท้องเสีย โดยช้างที่มีปัญหาทางเดินอาหารมีความหลากหลายของแบคทีเรียลดลง ทั้งในแง่จำนวนชนิดและความสม่ำเสมอของจุลินทรีย์ในลำไส้ การเปลี่ยนแปลงเหล่านี้สะท้อนถึงความผิดปกติของจุลินทรีย์ในลำไส้ที่เรียกว่า "ดิสไบโอซิส" (dysbiosis) ซึ่งอาจส่งผลให้เกิดปัญหาสุขภาพที่รุนแรง ข้อมูลที่ได้จากงานวิจัยนี้สามารถนำไปใช้เป็นพื้นฐานสำหรับการศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการปรับปรุงสุขภาพและสวัสดิภาพของช้างในกรงเลี้ยง รวมถึงการประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับจุลินทรีย์ในสัตว์อื่น ๆ เช่น การประยุกต์ใช้เอนไซม์จากจุลินทรีย์เพื่อรักษาโรคทางเดินอาหาร
งานวิจัยและนวัตกรรม
ข่าวเด่น
แกลลอรี่
×
RoomID:
Room Name:
Description: