CMU
หลักสูตร
แยกตามคณะ
ค้นหาหลักสูตร
ปริญญาตรี
ปริญญาโท
ปริญญาเอก
หลักสูตรอื่นๆ
|
การศึกษา
การรับสมัครปริญญาตรี
การรับสมัครระดับบัณฑิตศึกษา
การรับสมัครหลักสูตรนานาชาติ
ทุนอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
|
คณะและหน่วยงาน
คณะ
หน่วยงาน
ส่วนงานอื่นๆ
|
TH
EN
CN
TH
EN
CN
หลักสูตร
แยกตามคณะ
ค้นหาหลักสูตร
ปริญญาตรี
ปริญญาโท
ปริญญาเอก
หลักสูตรอื่นๆ
การศึกษา
การรับสมัครปริญญาตรี
การรับสมัครระดับบัณฑิตศึกษา
การรับสมัครหลักสูตรนานาชาติ
ทุนอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คณะและหน่วยงาน
คณะ
หน่วยงาน
ส่วนงานอื่นๆ
ข่าวสาร
ข่าวงานวิจัยและนวัตกรรม
ข่าวเด่น
ข่าวบุคคลเด่น
รางวัลและความภาคภูมิใจ
ประชุมสัมมนา/กิจกรรมของมหาวิทยาลัย
ภาพข่าวผู้บริหาร
ข่าวรับสมัครงาน
ข่าวจัดซื้อจัดจ้าง
ปฏิทินกิจกรรม
COVID-19 และ PM2.5
เกี่ยวกับ มช.
ประวัติความเป็นมา
60 ปี มช.
ปณิธาน/วิสัยทัศน์/พันธกิจ/ค่านิยมและวัฒนธรรมองค์กร
อำนาจหน้าที่
สัญลักษณ์มหาวิทยาลัย
เกี่ยวกับมช.
ข้อมูลสาธารณะ
CMU 360 องศา
SDGs
โครงสร้างองค์กรและการบริหารมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนพัฒนาการศึกษามช. ระยะ 5 ปี
คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย
คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัย
ผู้บริหารส่วนงาน
ผู้บริหารหน่วยงาน
สภาพนักงาน
Download CMU Powerpoint Template
ช่องทางการสอบถามข้อมูล (Q&A)
นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
ติดต่อเรา
เสนอแนะ/ร้องเรียน
ข่าว
ศูนย์ศึกษาชาติพันธุ์และการพัฒนาฯ ลงพื้นที่ชุมชนลัวะบ้านเฮาะ อำเภอแม่แจ่ม เพื่อติดตามและวางแผนการเก็บข้อมูลร่วมกับนักวิจัยท้องถิ่นชาติพันธุ์ลัวะ
1 สิงหาคม 2565
คณะสังคมศาสตร์
หลังจากกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการเก็บข้อมูลชุมชนชาติพันธุ์กับเศรษฐกิจสีเขียว เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2565 ที่ผ่านมา
ในวันที่ 28 กรกฏาคม 2565 อาจารย์และนักวิจัยจากศูนย์ศึกษาชาติพันธุ์และการพัฒนาฯ ได้เดินทางไปยังชุมชนลัวะบ้านเฮาะ อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อติดตามและวางแผนการเก็บข้อมูลร่วมกับนักวิจัยท้องถิ่นชาติพันธุ์ลัวะ
โจทย์หลักของชุมชนลัวะบ้านเฮาะ คือ “การกลับมาทบทวนตัวเอง” เนื่องจากปัจจุบันชุมชนได้ปลูกพืชเศรษฐกิจและใช้สารเคมีอย่างเข้มข้ม นำมาซึ่งปัญหาสิ่งแวดล้อม ภาระหนี้สิน และปัญหาด้านสุขภาพ ชาวบ้านมีความห่วงกังวลและต้องการกลับมาปลูกพืชที่ลดการใช้สารเคมี เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและที่สำคัญสามารถสร้างรายได้ให้ชุมชนตาม “แนวคิดเศรษฐกิจสีเขียว”
การได้กลับมาทบทวนตัวเอง จะเป็นเครื่องมือที่ทำให้นักวิจัยท้องถิ่นและชาวบ้านได้ระดมความคิดร่วมกันว่า พืชเศรษฐกิจแต่ละชนิดเข้ามาในช่วงไหน เข้ามาสร้างการเปลี่ยนแปลงให้กับชุมชนในด้านใดบ้าง และในอนาคตหากต้องการปรับเปลี่ยนการปลูกพืช คนในชุมชนจะคิดหาวิธีการและหาทางออกร่วมกันได้อย่างไร
#กิจกรรมนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการิจัยภูมิปัญญาท้องถิ่นชาติพันธุ์กับการจัดการไฟ (ป่า): ความมั่นคงทางอาหารและสุขภาวะสังคม ปีที่ 2 (ชุมชนชาติพันธุ์กับการเสริมสร้างความมั่นคงทางอาหารและสุขภาวะสังคมในวิกฤติฝุ่นควัน PM2.5)
#สนับสนุนโดย หน่วยสนับสนุนวิชาการรับใช้สังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
ประชุมสัมมนา/กิจกรรมของมหาวิทยาลัย
ข่าวสาร PM2.5
แกลลอรี่
×
RoomID:
Room Name:
Description: