CMU
หลักสูตร
แยกตามคณะ
ค้นหาหลักสูตร
ปริญญาตรี
ปริญญาโท
ปริญญาเอก
หลักสูตรอื่นๆ
|
การศึกษา
การรับสมัครระดับปริญญาตรี
การรับสมัครระดับบัณฑิตศึกษา
การรับสมัครหลักสูตรนานาชาติ
ทุนอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
|
คณะและหน่วยงาน
คณะ
หน่วยงาน
ส่วนงานอื่นๆ
|
TH
EN
CN
TH
EN
CN
หลักสูตร
แยกตามคณะ
ค้นหาหลักสูตร
ปริญญาตรี
ปริญญาโท
ปริญญาเอก
หลักสูตรอื่นๆ
การศึกษา
การรับสมัครระดับปริญญาตรี
การรับสมัครระดับบัณฑิตศึกษา
การรับสมัครหลักสูตรนานาชาติ
ทุนอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คณะและหน่วยงาน
คณะ
หน่วยงาน
ส่วนงานอื่นๆ
ข่าวสาร
ข่าวงานวิจัยและนวัตกรรม
ข่าวเด่น
ข่าวบุคคลเด่น
รางวัลและความภาคภูมิใจ
ประชุมสัมมนา/กิจกรรมของมหาวิทยาลัย
ภาพข่าวผู้บริหาร
ข่าวรับสมัครงาน
ข่าวจัดซื้อจัดจ้าง
ปฏิทินกิจกรรม
COVID-19 และ PM2.5
เกี่ยวกับ มช.
ประวัติความเป็นมา
60 ปี มช.
ปณิธาน/วิสัยทัศน์/พันธกิจ/ค่านิยมและวัฒนธรรมองค์กร
อำนาจหน้าที่
สัญลักษณ์มหาวิทยาลัย
เกี่ยวกับมช.
ข้อมูลสาธารณะ
CMU 360 องศา
SDGs
โครงสร้างองค์กรและการบริหารมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนพัฒนาการศึกษามช. ระยะ 5 ปี
คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย
คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัย
ผู้บริหารส่วนงาน
ผู้บริหารหน่วยงาน
สภาพนักงาน
Download CMU Powerpoint Template
ช่องทางการสอบถามข้อมูล (Q&A)
นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
ติดต่อเรา
เสนอแนะ/ร้องเรียน
ข่าว
ร่วมแสดงความยินดี! อาจารย์ สังคมศาสตร์ฯ มช. ได้รับรางวัล ช้างทองคำ 2567
25 ธันวาคม 2567
คณะสังคมศาสตร์
คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ขอแสดงความยินดีกับ อาจารย์ ดร.วรดร ไผ่เรือง อาจารย์ประจำภาควิชาภูมิศาสตร์ เนื่องในโอกาสได้รับ รางวัลมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ "ช้างทองคำ" ประจำปี 2567 ในฐานะ นักวิจัยรุ่นใหม่ดีเด่น สาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
ผลงานดีเด่นที่ได้รับการยอมรับ
งานวิจัยด้านอนุภาคฝุ่นขนาดเล็กมาก (PM0.1):
• ครั้งแรกในประเทศไทย อาจารย์ ดร.วรดร ได้เผยแพร่งานวิจัยที่บุกเบิกข้อมูลด้านคุณลักษณะทางกายภาพและเคมีของอนุภาค PM0.1
• อนุภาค PM0.1 เป็นฝุ่นละอองที่มีขนาดเล็กมาก มีศักยภาพในการ ดูดกลืนรังสีความร้อนสูง และส่งผลให้เกิด ภาวะโลกร้อน ในระดับที่รุนแรงกว่า PM2.5 และ PM10
• ความเป็นพิษสูง ของ PM0.1 ส่งผลกระทบต่อสุขภาพอย่างรุนแรง แต่ข้อมูลเกี่ยวกับอนุภาคนี้ในประเทศไทยยังมีอยู่อย่างจำกัด
• งานวิจัยของอาจารย์ ดร.วรดร มีบทบาทสำคัญใน การศึกษาเชิงประจักษ์ทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ และเป็นพื้นฐานสำคัญสำหรับการกำหนด แนวทางการลดผลกระทบต่อสุขภาพในอนาคต
ข้อมูลวิชาการที่โดดเด่น
• Lifetime h-index: 16
• ผลงานตีพิมพ์ระดับนานาชาติ: 44 เรื่อง (First/Corresponding Author: 22 เรื่อง)
• Citation: 717
รางวัลครั้งนี้ถือเป็นความภาคภูมิใจของคณะสังคมศาสตร์และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีนักวิจัยรุ่นใหม่ที่มีความสามารถโดดเด่นและมีผลงานวิจัยที่สร้างคุณประโยชน์ในระดับประเทศและนานาชาติ!
ข่าวบุคคลเด่น
รางวัลและความภาคภูมิใจ
ข่าวเด่น
แกลลอรี่
×
RoomID:
Room Name:
Description: