CMU
หลักสูตร
แยกตามคณะ
ค้นหาหลักสูตร
ปริญญาตรี
ปริญญาโท
ปริญญาเอก
หลักสูตรอื่นๆ
|
การศึกษา
การรับสมัครระดับปริญญาตรี
การรับสมัครระดับบัณฑิตศึกษา
การรับสมัครหลักสูตรนานาชาติ
ทุนอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
|
คณะและหน่วยงาน
คณะ
หน่วยงาน
ส่วนงานอื่นๆ
|
TH
EN
CN
TH
EN
CN
หลักสูตร
แยกตามคณะ
ค้นหาหลักสูตร
ปริญญาตรี
ปริญญาโท
ปริญญาเอก
หลักสูตรอื่นๆ
การศึกษา
การรับสมัครระดับปริญญาตรี
การรับสมัครระดับบัณฑิตศึกษา
การรับสมัครหลักสูตรนานาชาติ
ทุนอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คณะและหน่วยงาน
คณะ
หน่วยงาน
ส่วนงานอื่นๆ
ข่าวสาร
ข่าวงานวิจัยและนวัตกรรม
ข่าวเด่น
ข่าวบุคคลเด่น
รางวัลและความภาคภูมิใจ
ประชุมสัมมนา/กิจกรรมของมหาวิทยาลัย
ภาพข่าวผู้บริหาร
ข่าวรับสมัครงาน
ข่าวจัดซื้อจัดจ้าง
ปฏิทินกิจกรรม
COVID-19 และ PM2.5
เกี่ยวกับ มช.
ประวัติความเป็นมา
60 ปี มช.
ปณิธาน/วิสัยทัศน์/พันธกิจ/ค่านิยมและวัฒนธรรมองค์กร
อำนาจหน้าที่
สัญลักษณ์มหาวิทยาลัย
เกี่ยวกับมช.
ข้อมูลสาธารณะ
CMU 360 องศา
SDGs
โครงสร้างองค์กรและการบริหารมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนพัฒนาการศึกษามช. ระยะ 5 ปี
คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย
คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัย
ผู้บริหารส่วนงาน
ผู้บริหารหน่วยงาน
สภาพนักงาน
Download CMU Powerpoint Template
ช่องทางการสอบถามข้อมูล (Q&A)
นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
ติดต่อเรา
เสนอแนะ/ร้องเรียน
ข่าว
ยกระดับ “ต้นแบบระบบอาหารเกษตรอินทรีย์ฯ” อาจารย์ วิศวะ มช. ร่วมกับ สสส. เดินหน้าโครงการ Chiang Mai Greentopia
17 มกราคม 2568
คณะวิศวกรรมศาสตร์
ศาสตราจารย์ ดร.พวงรัตน์ แก้วล้อม
อาจารย์ ประจำภาควิชา วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ดำเนินโครงการ
Chiang Mai Greentopia
: ต้นแบบการสร้างความมั่นคงทางอาหาร สู่วิถีการบริโภคอาหารอินทรีย์เพื่อสุขภาพอย่างมีส่วนร่วม
โครงการ Chiang Mai Greentopia ดำเนินตั้งแต่ปี พ.ศ. 2565 ตามยุทศาสตร์การขับเคลื่อนนโยบายด้านอาหารของ สสส. โดยมี ศาสตราจารย์ ดร.พวงรัตน์ แก้วล้อม เป็นผู้จัดการโครงการฯ
โครงการดังกล่าวฯ จัดขึ้นเพื่อพัฒนา “ระบบอาหารเพื่อสุขภาวะตลอดห่วงโซ่” โดยการเลือกปลูก และบริโภค ผักพื้นบ้านอินทรีย์ที่อุดมไปด้วยสารอาหารและปราศจากสารเคมีตกค้าง เป็นวิธีที่ช่วยลงความเสี่ยงและบรรเทาอาการของกลุ่มโรค NCDs ซึ่งผลจากการขับเคลื่อนโครงการที่ผ่านมา ประสบความสำเร็จเป็นอย่างมาก โดยวัดจากผลสุ่มตรวจเลือดของชาวเชียงใหม่ 400 คน ในเดือน ธันวาคม ปีพ.ศ. 2567 ที่ผ่านมา พบว่าผลการจัดอันดับจังหวังที่ประชากรมีสารเคมีตกค้างในเลือดของจังหวัดเชียงใหม่ ลดลงมาอยู่อันดับ 4 จากเดิมที่สูงเป็นอันดับ 1 ของประเทศ
สุขภาพ
ข่าวเด่น
แกลลอรี่
×
RoomID:
Room Name:
Description: