CMU
หลักสูตร
แยกตามคณะ
ค้นหาหลักสูตร
ปริญญาตรี
ปริญญาโท
ปริญญาเอก
หลักสูตรอื่นๆ
|
การศึกษา
การรับสมัครปริญญาตรี
การรับสมัครระดับบัณฑิตศึกษา
การรับสมัครหลักสูตรนานาชาติ
ทุนอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
|
คณะและหน่วยงาน
คณะ
หน่วยงาน
ส่วนงานอื่นๆ
|
TH
EN
CN
TH
EN
CN
หลักสูตร
แยกตามคณะ
ค้นหาหลักสูตร
ปริญญาตรี
ปริญญาโท
ปริญญาเอก
หลักสูตรอื่นๆ
การศึกษา
การรับสมัครปริญญาตรี
การรับสมัครระดับบัณฑิตศึกษา
การรับสมัครหลักสูตรนานาชาติ
ทุนอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คณะและหน่วยงาน
คณะ
หน่วยงาน
ส่วนงานอื่นๆ
ข่าวสาร
ข่าวงานวิจัยและนวัตกรรม
ข่าวเด่น
ข่าวบุคคลเด่น
รางวัลและความภาคภูมิใจ
ประชุมสัมมนา/กิจกรรมของมหาวิทยาลัย
ภาพข่าวผู้บริหาร
ข่าวรับสมัครงาน
ข่าวจัดซื้อจัดจ้าง
ปฏิทินกิจกรรม
COVID-19 และ PM2.5
เกี่ยวกับ มช.
ประวัติความเป็นมา
60 ปี มช.
ปณิธาน/วิสัยทัศน์/พันธกิจ/ค่านิยมและวัฒนธรรมองค์กร
อำนาจหน้าที่
สัญลักษณ์มหาวิทยาลัย
เกี่ยวกับมช.
ข้อมูลสาธารณะ
CMU 360 องศา
SDGs
โครงสร้างองค์กรและการบริหารมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนพัฒนาการศึกษามช. ระยะ 5 ปี
คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย
คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัย
ผู้บริหารส่วนงาน
ผู้บริหารหน่วยงาน
สภาพนักงาน
Download CMU Powerpoint Template
ช่องทางการสอบถามข้อมูล (Q&A)
นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
ติดต่อเรา
เสนอแนะ/ร้องเรียน
ข่าว
นักศึกษาภาควิชาฟิสิกส์และวัสดุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พัฒนาเพอรอฟสไกต์โซลาร์เซลล์ต้นทุนต่ำ คงทนยาวนานเกิน 2 ปี
30 สิงหาคม 2567
คณะวิทยาศาสตร์
นักศึกษาภาควิชาฟิสิกส์และวัสดุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พัฒนาเพอรอฟสไกต์โซลาร์เซลล์ต้นทุนต่ำ คงทนยาวนานเกิน 2 ปี พัฒนาเสถียรภาพของเซลล์แสงอาทิตย์ พร้อมต่อยอดอุตสาหกรรมพลังงานสะอาดของประเทศไทย ผลงานได้รับคัดเลือกขึ้นปกวารสารวิชาการ ACS Applied Energy Materials
นางสาววรพรหม พัสธรธัชกร นักศึกษาทุน คปก. ระดับปริญญาเอก (หลักสูตรนานาชาติ) สาขาวิชาฟิสิกส์ประยุกต์ จากห้องปฏิบัติการวิจัยเซลล์แสงอาทิตย์ (SCRL) ภาควิชาฟิสิกส์และวัสดุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยมี รศ.ดร. ดวงมณี ว่องรัตนะไพศาล เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาหลัก รศ.ดร. พิพัฒน์ เรือนคำ และ อ.ดร. อัจฉราวรรณ กาศเจริญ เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาร่วม ได้ตีพิมพ์งานวิจัยในหัวข้อ “Sustainable Planar Hole-Transporting Material-Free Carbon Electrode-Based Perovskite Solar Cells: Stability Beyond Two Years” เพื่อศึกษาและพัฒนาเสถียรภาพของเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดเพอรอฟสไกต์โดยใช้ขั้วคาร์บอนเป็นฐานและไม่มีวัสดุนำส่งโฮล
ผลการวิจัยพบว่า เซลล์แสงอาทิตย์ชนิดดังกล่าวสามารถช่วยลดต้นทุนจากเดิมได้ถึง 27% โดยการใช้ขั้วคาร์บอนทำหน้าที่เป็นทั้งชั้นส่งผ่านโฮลและขั้วไฟฟ้า มีส่วนช่วยเสริมความคงทนต่อความร้อนและความชื้น ส่งผลให้มีเสถียรภาพยาวนานมากกว่า 2 ปี โดยไม่มีการห่อหุ้ม
งานวิจัยนี้ได้รับการตีพิมพ์และได้รับการคัดเลือกให้เผยขึ้นปกวารสาร ACS Applied Energy Materials, Vol. 7, Iss. 16 Published: August 26, 2024
ผู้ที่สนใจสามารถอ่านบทความวิจัยได้ที่
https://pubs.acs.org/doi/10.1021/acsaem.4c01199
งานวิจัยและนวัตกรรม
บทความ
ข่าวเด่น
แกลลอรี่
×
RoomID:
Room Name:
Description: