CMU
หลักสูตร
แยกตามคณะ
ค้นหาหลักสูตร
ปริญญาตรี
ปริญญาโท
ปริญญาเอก
หลักสูตรอื่นๆ
|
การศึกษา
การรับสมัครระดับปริญญาตรี
การรับสมัครระดับบัณฑิตศึกษา
การรับสมัครหลักสูตรนานาชาติ
ทุนอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
|
คณะและหน่วยงาน
คณะ
หน่วยงาน
ส่วนงานอื่นๆ
|
TH
EN
CN
TH
EN
CN
หลักสูตร
แยกตามคณะ
ค้นหาหลักสูตร
ปริญญาตรี
ปริญญาโท
ปริญญาเอก
หลักสูตรอื่นๆ
การศึกษา
การรับสมัครระดับปริญญาตรี
การรับสมัครระดับบัณฑิตศึกษา
การรับสมัครหลักสูตรนานาชาติ
ทุนอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คณะและหน่วยงาน
คณะ
หน่วยงาน
ส่วนงานอื่นๆ
ข่าวสาร
ข่าวงานวิจัยและนวัตกรรม
ข่าวเด่น
ข่าวบุคคลเด่น
รางวัลและความภาคภูมิใจ
ประชุมสัมมนา/กิจกรรมของมหาวิทยาลัย
ภาพข่าวผู้บริหาร
ข่าวรับสมัครงาน
ข่าวจัดซื้อจัดจ้าง
ปฏิทินกิจกรรม
COVID-19 และ PM2.5
เกี่ยวกับ มช.
ประวัติความเป็นมา
60 ปี มช.
ปณิธาน/วิสัยทัศน์/พันธกิจ/ค่านิยมและวัฒนธรรมองค์กร
อำนาจหน้าที่
สัญลักษณ์มหาวิทยาลัย
เกี่ยวกับมช.
ข้อมูลสาธารณะ
CMU 360 องศา
SDGs
โครงสร้างองค์กรและการบริหารมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนพัฒนาการศึกษามช. ระยะ 5 ปี
คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย
คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัย
ผู้บริหารส่วนงาน
ผู้บริหารหน่วยงาน
สภาพนักงาน
Download CMU Powerpoint Template
ช่องทางการสอบถามข้อมูล (Q&A)
นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
ติดต่อเรา
เสนอแนะ/ร้องเรียน
ข่าว
การประยุกต์ใช้สารอัลลีโลเคมิคอลที่ได้จากพืชเป็นหนึ่งในวิธีการป้องกันกำจัดวัชพืช หญ้าโขย่ง
11 พฤษภาคม 2565
คณะเกษตรศาสตร์
การประยุกต์ใช้สารอัลลีโลเคมิคอลที่ได้จากพืชเป็นหนึ่งในวิธีการป้องกันกำจัดวัชพืช หญ้าโขย่ง (Lour.) W.D. Clayton) ถูกนำมาใช้ในการควบคุมวัชพืชในลักษณะของวัสดุคลุมดินภายใต้สภาพแปลงปลูกพืชผัก ซึ่งคาดว่าหญ้าโขย่งมีการปลดปล่อยสารอัลลีโลเคมิคอลที่มีผลไปยับยั้งการงอกและการเติบโตของวัชพืชในแปลงปลูกพืชผักได้ จากการศึกษาชนิดของสารอัลลีโลเคมิคอลเพิ่มเติมพบว่า สารสกัดหยาบชั้นเฮกเซนของหญ้าโขย่งประกอบด้วย สารอัลลีโลเคมิคอลที่มีคุณลักษณะเป็นกรดไขมัน ได้แก่ linoleic acid (9,12-octadecadienoic acid) และ linolenic acid (9,12,15-octadecatrienoic acid) โดยเชื่อว่ากรดไขมันทั้งสองชนิดนี้มีบทบาทสำคัญช่วยทำให้หญ้าโขย่งมีความสามารถในการยับยั้งการงอกและการเติบโตของวัชพืชภายใต้สภาพแปลงปลูกพืชผักได้
ผลงานวิจัยได้รับตีพิมพ์ในวารสาร Allelopathy Journal
ติดตามอ่านเพิ่มเติมได้ที่
https://www.allelopathyjournal.com/10.26651/2021-54-1-1345
#คณะเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
#ภาควิชาพืชศาสตร์และปฐพีศาสตร์
#CMU #ChiangMaiUniversity #มช #มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
#มหาวิทยาลัยเชียงใหม่มหาวิทยาลัยชั้นนำที่รับผิดชอบต่อสังคมและการพัฒนาที่ยั่งยืน #CMUBGCmodel #CMUSDGs #CMUSDG1 #CMUSDG2 #CMUSDG3 #CMUSDG12
งานวิจัยและนวัตกรรม
ข่าวเด่น
แกลลอรี่
×
RoomID:
Room Name:
Description: