CMU
หลักสูตร
แยกตามคณะ
ค้นหาหลักสูตร
ปริญญาตรี
ปริญญาโท
ปริญญาเอก
หลักสูตรอื่นๆ
|
การศึกษา
การรับสมัครระดับปริญญาตรี
การรับสมัครระดับบัณฑิตศึกษา
การรับสมัครหลักสูตรนานาชาติ
ทุนอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
|
คณะและหน่วยงาน
คณะ
หน่วยงาน
ส่วนงานอื่นๆ
|
TH
EN
CN
TH
EN
CN
หลักสูตร
แยกตามคณะ
ค้นหาหลักสูตร
ปริญญาตรี
ปริญญาโท
ปริญญาเอก
หลักสูตรอื่นๆ
การศึกษา
การรับสมัครระดับปริญญาตรี
การรับสมัครระดับบัณฑิตศึกษา
การรับสมัครหลักสูตรนานาชาติ
ทุนอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คณะและหน่วยงาน
คณะ
หน่วยงาน
ส่วนงานอื่นๆ
ข่าวสาร
ข่าวงานวิจัยและนวัตกรรม
ข่าวเด่น
ข่าวบุคคลเด่น
รางวัลและความภาคภูมิใจ
ประชุมสัมมนา/กิจกรรมของมหาวิทยาลัย
ภาพข่าวผู้บริหาร
ข่าวรับสมัครงาน
ข่าวจัดซื้อจัดจ้าง
ปฏิทินกิจกรรม
COVID-19 และ PM2.5
เกี่ยวกับ มช.
ประวัติความเป็นมา
60 ปี มช.
ปณิธาน/วิสัยทัศน์/พันธกิจ/ค่านิยมและวัฒนธรรมองค์กร
อำนาจหน้าที่
สัญลักษณ์มหาวิทยาลัย
เกี่ยวกับมช.
ข้อมูลสาธารณะ
CMU 360 องศา
SDGs
โครงสร้างองค์กรและการบริหารมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนพัฒนาการศึกษามช. ระยะ 5 ปี
คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย
คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัย
ผู้บริหารส่วนงาน
ผู้บริหารหน่วยงาน
สภาพนักงาน
Download CMU Powerpoint Template
ช่องทางการสอบถามข้อมูล (Q&A)
นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
ติดต่อเรา
เสนอแนะ/ร้องเรียน
ข่าว
ร่วมแสดงความยินดี! อาจารย์ วิศวฯ มช. ได้รับรางวัล ช้างทองคำ 2567
23 ธันวาคม 2567
คณะวิศวกรรมศาสตร์
รองศาสตราจารย์ วงกต วงศ์อภัย
อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้รับรางวัล
"ช้างทองคำ" นักเทคโนโลยีและนวัตกรรมดีเด่น
ที่มีผลกระทบต่อสังคม ชุมชน หรือนโยบายสาธารณะ พ.ศ. 2567 จากการผลงานเรื่อง “การพัฒนาระบบติดตามประเมินผลการลดก๊าซเรือนกระจกภาคพลังงานของประเทศไทย”
ผลงานดังกล่าวฯ เป็นการพัฒนาแนวทาง ขั้นตอน และระเบียบวิธีการตรวจวัด รายงานและทวนสอบผล (MRV) การลดก๊าซเรือนกระจก (GHG) ที่เป็นทางการของประเทศไทย (National level) โดยดำเนินการร่วมกับองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) ซึ่งมีความแตกต่างจากการลด GHG ในระดับโครงการ (Project based) โดยมีเป้าหมายให้ประเทศทราบถึงผลลด GHG ที่เป็นปัจจุบัน นำมาซึ่งการตัดสินใจกำหนด/ปรับแผนลด GHG ประเทศ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายลด GHG จากผลการติดตามในปี พ.ศ.2566 (ข้อมูล 2564) มาตรการภาคพลังงานลด GHG ได้ประมาณ 50 ล้านตัน CO2 เทียบเท่า ทั้งนี้ การประเมินผลจะดำเนินการต่อเนื่องทุกปี และผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการนโยบายการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศแห่งชาติ (กนภ.) เพื่อเสนอผลลด GHG ต่อหน่วยงานสหประชาชาติ (UNFCCC) ในรายงานรายสองปีของประเทศต่อ่ไป
ข่าวบุคคลเด่น
รางวัลและความภาคภูมิใจ
ข่าวเด่น
แกลลอรี่
×
RoomID:
Room Name:
Description: