CMU
หลักสูตร
แยกตามคณะ
ค้นหาหลักสูตร
ปริญญาตรี
ปริญญาโท
ปริญญาเอก
หลักสูตรอื่นๆ
|
การศึกษา
การรับสมัครระดับปริญญาตรี
การรับสมัครระดับบัณฑิตศึกษา
การรับสมัครหลักสูตรนานาชาติ
ทุนอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
|
คณะและหน่วยงาน
คณะ
หน่วยงาน
ส่วนงานอื่นๆ
|
TH
EN
CN
TH
EN
CN
หลักสูตร
แยกตามคณะ
ค้นหาหลักสูตร
ปริญญาตรี
ปริญญาโท
ปริญญาเอก
หลักสูตรอื่นๆ
การศึกษา
การรับสมัครระดับปริญญาตรี
การรับสมัครระดับบัณฑิตศึกษา
การรับสมัครหลักสูตรนานาชาติ
ทุนอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คณะและหน่วยงาน
คณะ
หน่วยงาน
ส่วนงานอื่นๆ
ข่าวสาร
ข่าวงานวิจัยและนวัตกรรม
ข่าวเด่น
ข่าวบุคคลเด่น
รางวัลและความภาคภูมิใจ
ประชุมสัมมนา/กิจกรรมของมหาวิทยาลัย
ภาพข่าวผู้บริหาร
ข่าวรับสมัครงาน
ข่าวจัดซื้อจัดจ้าง
ปฏิทินกิจกรรม
COVID-19 และ PM2.5
เกี่ยวกับ มช.
ประวัติความเป็นมา
60 ปี มช.
ปณิธาน/วิสัยทัศน์/พันธกิจ/ค่านิยมและวัฒนธรรมองค์กร
อำนาจหน้าที่
สัญลักษณ์มหาวิทยาลัย
เกี่ยวกับมช.
ข้อมูลสาธารณะ
CMU 360 องศา
SDGs
โครงสร้างองค์กรและการบริหารมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนพัฒนาการศึกษามช. ระยะ 5 ปี
คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย
คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัย
ผู้บริหารส่วนงาน
ผู้บริหารหน่วยงาน
สภาพนักงาน
Download CMU Powerpoint Template
ช่องทางการสอบถามข้อมูล (Q&A)
นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
ติดต่อเรา
เสนอแนะ/ร้องเรียน
ข่าว
ทีมนักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ได้รับทุนวิจัยและพัฒนา นวัตกรรม 10 ล้านบาท จาก กฟผ.
31 มกราคม 2566
คณะวิทยาศาสตร์
ทีมนักวิจัยจากภาควิชาเคมีอุตสาหกรรรม คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ นำโดย รศ.ดร ศุภรินทร์ ไชยกลางเมือง และ ผศ.ดร.โยธิน ฉิมอุปละ ร่วมกับ ผศ.ดร.ศรัญพงศ์ ยิ้มกลั่น จากภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้รับทุนวิจัยและพัฒนา นวัตกรรม จำนวน 10 ล้านบาท จากการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ในโครงการ “ระบบต้นแบบแกสิฟิเคชันของถ่านหินสำหรับการผลิตก๊าซสังเคราะห์เพื่อใช้ในเซลล์เชื้อเพลิงแบบโซลิดออกไซด์” และ “ระบบปรับปรุงคุณภาพแก๊สสังเคราะห์เพื่อรองรับการนำไปใช้ในเซลล์เชื้อเพลิงชนิดออกไซด์แข็ง” โดยใช้องค์ความรู้ที่พัฒนามาจากหน่วยวิจัยของ รศ.ดร.ศุภรินทร์ ไชยกลางเมือง และ ผศ.ดร.โยธิน ฉิมอุปละ ด้านตัวเร่งปฏิกิริยาในระบบแกสิฟิเคขันของถ่านหินและวัสดุบำบัดมลพิษกลุ่มโครงค่ายโลหะ-อินทรีย์ ที่ผลิตได้จากขยะ ที่วิจัยได้จากห้องปฏิบัติการต่อยอดสู่การประยุกต์ใช้งานจริงในอุตสาหกรรมต้นแบบ ระยะเวลาที่ใช้ในการดำเนินโครงการคือ 1 ปี 6 เดือน เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ 2565
ณ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย แม่เมาะ จังหวัดลำปาง
ข่าวเด่น
แกลลอรี่
×
RoomID:
Room Name:
Description: