CMU
หลักสูตร
แยกตามคณะ
ค้นหาหลักสูตร
ปริญญาตรี
ปริญญาโท
ปริญญาเอก
หลักสูตรอื่นๆ
|
การศึกษา
การรับสมัครปริญญาตรี
การรับสมัครระดับบัณฑิตศึกษา
การรับสมัครหลักสูตรนานาชาติ
ทุนอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
|
คณะและหน่วยงาน
คณะ
หน่วยงาน
ส่วนงานอื่นๆ
|
TH
EN
CN
TH
EN
CN
หลักสูตร
แยกตามคณะ
ค้นหาหลักสูตร
ปริญญาตรี
ปริญญาโท
ปริญญาเอก
หลักสูตรอื่นๆ
การศึกษา
การรับสมัครปริญญาตรี
การรับสมัครระดับบัณฑิตศึกษา
การรับสมัครหลักสูตรนานาชาติ
ทุนอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คณะและหน่วยงาน
คณะ
หน่วยงาน
ส่วนงานอื่นๆ
ข่าวสาร
ข่าวงานวิจัยและนวัตกรรม
ข่าวเด่น
ข่าวบุคคลเด่น
รางวัลและความภาคภูมิใจ
ประชุมสัมมนา/กิจกรรมของมหาวิทยาลัย
ภาพข่าวผู้บริหาร
ข่าวรับสมัครงาน
ข่าวจัดซื้อจัดจ้าง
ปฏิทินกิจกรรม
COVID-19 และ PM2.5
เกี่ยวกับ มช.
ประวัติความเป็นมา
60 ปี มช.
ปณิธาน/วิสัยทัศน์/พันธกิจ/ค่านิยมและวัฒนธรรมองค์กร
อำนาจหน้าที่
สัญลักษณ์มหาวิทยาลัย
เกี่ยวกับมช.
ข้อมูลสาธารณะ
CMU 360 องศา
SDGs
โครงสร้างองค์กรและการบริหารมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนพัฒนาการศึกษามช. ระยะ 5 ปี
คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย
คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัย
ผู้บริหารส่วนงาน
ผู้บริหารหน่วยงาน
สภาพนักงาน
Download CMU Powerpoint Template
ช่องทางการสอบถามข้อมูล (Q&A)
นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
ติดต่อเรา
เสนอแนะ/ร้องเรียน
ข่าว
นักวิจัยคณะวิทย์ มช. เข้ารับมอบประกาศนียบัตรแสดงความยินดีแก่นักประดิษฐ์และนักวิจัยไทยที่ได้รับรางวัลจากเวทีการประกวดสิ่งประดิษฐ์นานาชาติ จัดโดย อว.
15 มกราคม 2567
คณะวิทยาศาสตร์
นักวิจัยคณะวิทย์ มช. เข้ารับมอบประกาศนียบัตรแสดงความยินดีแก่นักประดิษฐ์และนักวิจัยไทยที่ได้รับรางวัล จากเวทีการประกวดสิ่งประดิษฐ์นานาชาติ (Internationally Outstanding Inventors Awards Ceremony) จัดโดย กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ในงาน “Future Thailand” เมื่อวันที่ 11 มกราคม 2567
จากผลงาน "การผลิตวัสดุรูพรุนโครงข่ายโลหะอินทรีย์ ของอะลูมิเนียมคุณภาพสูงแบบเศรษฐกิจหมุนเวียน" (“The Circular Economical Production Process of High-Quality Porous Metal-Organic Framework Materials of Aluminium”) ที่คว้า 2 รางวัลใหญ่ "The Best Foreign Invention" Special Award และ Gold Medal ในงาน The 17th International Warsaw Invention Show (IWIS 2023) ระหว่างวันที่ 12 – 14 ธันวาคม 2566 ณ Warsaw University of Technology กรุงวอร์ซอ สาธารณรัฐโปแลนด์
นักวิจัยประกอบด้วย ผศ.ดร.ศรัญพงศ์ ยิ้มกลั่น (หัวหน้าคณะนักวิจัย) ผศ.ดร.โยธิน ฉิมอุปละ อ.ดร.นัทธวัฒน์ เสมากูล และทีมนักวิจัย สังกัดคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับ รศ.ดร.ปิติวัฒน์ วัฒนชัย (Head Coordinator) และ ผศ.ดร.ทินกร ปงธิยา (Coordinator) จากอุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มช. (STeP)
.
FUN
FUNCTIONAL
FUNDAMENTAL
Science CMU : Be FUN to the Frontier
#SCICMU #BeFUNtotheFrontier
งานวิจัยและนวัตกรรม
รางวัลและความภาคภูมิใจ
ข่าวเด่น
แกลลอรี่
×
RoomID:
Room Name:
Description: